ข่าวสารและบทความ
ข่าวสาร
29
กันยายน
2565
วานนี้ (28 กันยายน 2565) มูลนิธิปรีดี พนมยงค์ ได้เป็นเจ้าภาพร่วมในงานสวดพระอภิธรรม ศาสตราจารย์พิเศษ มารุต บุนนาค ณ วัดมกุฏกษัตริยาราม ศาลา 8 ทั้งนี้ กำหนดการบำเพ็ญกุศลจะดำเนินถึงวันที่ 1 ตุลาคม 2565
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
29
กันยายน
2565
การประเมินระดับประชาธิปไตยโดย Democracy Index ได้อาศัยตัวชี้วัดหลายเรื่อง โดยมีจุดร่วมสำคัญอยู่ใน 5 ประเด็น ได้แก่ กระบวนการเลือกตั้ง บทบาทของรัฐบาล การมีส่วนร่วมทางการเมือง วัฒนธรรมทางการเมือง และเสรีภาพของพลเมือง ผลที่ตามมา คือ ในกลุ่มประเทศที่ได้รับการเมินให้เป็น ประชาธิปไตยสูง นั้น ส่วนใหญ่ใช้แนวทางเศรษฐกิจและการเมืองแบบสังคมนิยมประชาธิปไตย
บทความ • บทบาท-ผลงาน
28
กันยายน
2565
ความพยายามในการบรรยาย “กฎหมายปกครอง” ในปี 2474 ของหลวงประดิษฐ์มนูธรรม ในยุคสมัยซึ่งการเรียนการสอนกฎหมายของประเทศไทย ได้รับอิทธิพลจากระบบกฎหมายอังกฤษที่ไม่มีการแบ่งแยกกฎหมายมหาชนและกฎหมายปกครองออกมาอย่างชัดเจน
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
27
กันยายน
2565
ในปัจจุบันไฟฟ้าเป็นสิ่งจำเป็นต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์ ในฐานะเป็นปัจจัยสำคัญที่ช่วยในการอำนวยความสะดวกให้กับมนุษย์ในชีวิตประจำวัน การที่ราคาค่าไฟฟ้าเพิ่มขึ้นย่อมกระทบต่อชีวิตประชาชน
ข่าวสาร
26
กันยายน
2565
19 กันยายน 2565 ที่ผ่านมา นายปรีดิวิชญ์ พนมยงค์ กรรมการผู้จัดการสถาบันปรีดี พนมยงค์ รับมอบภาพวาด "รัฐบุรุษอาวุโส ปรีดี พนมยงค์ ลูกหลานชาวนาผู้รักซึ่งความยุติธรรม" ผลงานโดยนายมงคล โคตรชาลี ศิลปินอิสระ
บทความ • บทบาท-ผลงาน
25
กันยายน
2565
ภารกิจแรกของปรีดี หัวหน้าเสรีไทยในประเทศ และ ม.ร.ว.เสนีย์ หัวหน้าเสรีไทยสายอเมริกาภายใต้รัฐบาลใหม่ คือ การสวนสนามของพลพรรคเสรีไทยราว 8,000 คน บนถนนราชดำเนินกลาง ในวันที่ 25 กันยายน พ.ศ. 2488
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
24
กันยายน
2565
เรื่องราวความทรงจำของศิษย์ต.ม.ธ.ก. รุ่นที่ 5 ครั้งเมื่อใช้ชีวิตภายในรั้วโดม ณ โรงเรียนเตรียมปริญญามหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์ สถานศึกษาที่มิใช่เป็นเพียงพื้นที่แห่งการเรียนรู้ แต่ยังได้ขัดเกลาให้ทุกคนเห็นคุณค่าในสิทธิเสรีภาพ ความยุติธรรม ความถูกต้อง รักและเคารพในสิทธิของผู้อื่น
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
24
กันยายน
2565
ประเทศไทยเปลี่ยนแปลงการปกครองมาเป็นระบอบประชาธิปไตยจนถึงปัจจุบันเป็นเวลา 72 ปี[1] แต่บ้านเมืองเป็นประชาธิปไตยอย่างแท้จริงในบางครั้งบางคราวเท่านั้น เพราะได้มีการปฏิวัติรัฐประหารกันมาตลอดเวลาไม่ต่ำกว่า 20 ครั้ง ทั้งที่ทำสำเร็จบ้าง ไม่สำเร็จบ้าง บางครั้งมีการปฏิวัติแล้ว ก็มีการบริหารราชการแผ่นดินกันในระบอบเผด็จการ ไม่มีบทบัญญัติรัฐธรรมนูญใช้บังคับ ในบางยุคมีการบริหารราชการแผ่นดินแบบกึ่งเผด็จการและกึ่งประชาธิปไตย ทั้งนี้สุดแต่จิตสำนึกของผู้ยึดอำนาจแต่ละคน ในยุคปัจจุบันถือได้ว่าเป็นยุคประชาธิปไตยเต็มรูปแบบ ประชาชนมีความตื่นตัวทางการเมือ
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
23
กันยายน
2565
ชวนสำรวจตำแหน่งแห่งที่ของประชาธิปไตยไทย ภายใต้บริบทการเมืองโลกที่มีการขับเคี่ยวทางอุดมการณ์ตลอดเวลา ผ่านการประเมินตัวแปรชี้วัดที่หลากหลายซึ่งฉายภาพความเป็นประชาธิปไตยของรัฐไทย รวมถึงจุดยืนที่สะท้อนผ่านการแบ่งชนิดของรัฐในสถานการณ์ที่ประชาธิปไตยไทยถดถอย
บทความ • ชีวิต-ครอบครัว
22
กันยายน
2565
เมื่อสงครามสิ้นสุดแล้ว คุณไสวได้สมัครเป็นผู้แทนราษฎร และได้รับเลือกตั้งเป็นผู้แทนราษฎรจังหวัดนครศรีธรรมราช ซึ่งเป็นบ้านเกิด ต่อมาได้รับแต่งตั้งให้เป็นเลขานุการนายกรัฐมนตรี