ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ข่าวสารและบทความ

16
สิงหาคม
2564
16 สิงหาคม 2564  ครบรอบ 76 ปี วันสันติภาพไทยสถาบันปรีดี พนมยงค์ ร่วมมือกับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ได้จัดงาน PRIDI Talks #12 “ความสำคัญของหลักเอกราชกับการต่างประเทศ” และกิจกรรมเสวนา “รำลึก 76 ปี วันสันติภาพไทย ข้อเท็จจริงเรื่องขบวนการเสรีไทย” ถ่ายทอดสดผ่าน Facebook Live เพจสถาบันปรีดี พนมยงค์ Pridi Banomyoung Institute เวลา 14.00 น.
บทบาท-ผลงาน
16
สิงหาคม
2564
16 สิงหาคม 2488 ‘นายปรีดี พนมยงค์’ ในฐานะผู้สำเร็จราชการฯ ได้ประกาศว่า การประกาศสงครามต่อสหรัฐอเมริกาและบริเตนใหญ่ ในวันที่ 25 มกราคม 2485 เป็นการกระทำอันผิดจากเจตจำนงของประชาชนชาวไทยและฝ่าฝืนขัดต่อบทบัญญัติรัฐธรรมนูญ และกฎหมายบ้านเมือง
16
สิงหาคม
2564
วันที่ 16 สิงหาคมของทุกปีเป็นวันสันติภาพไทย โดยในปีพ.ศ.
เกร็ดประวัติศาสตร์
15
สิงหาคม
2564
แม้ไม่มีหลักฐานชิ้นใดที่จะชี้ชัดไปว่า ญี่ปุ่นรู้หรือไม่ว่ามีขบวนการเสรีไทยเกิดขึ้น และถ้ารู้ รู้เมื่อไหร่ และรู้อย่างไร โดยเฉพาะในช่วงปลายของรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม มีการต่อต้านญี่ปุ่น
บทบาท-ผลงาน
14
สิงหาคม
2564
วิญญูชนรุ่นปัจจุบันที่ตั้งอยู่ในอุเบกขาแสวงหาสัจจะ โดยปราศจากอคติสี่ประการคือ ฉันทา, โทสา, ภยา, โมหา ก็ย่อมเข้าใจได้จากรูปธรรมที่ประจักษ์ถึงท่าทีของฝ่ายสัมพันธมิตร
เกร็ดประวัติศาสตร์
11
สิงหาคม
2564
“ในประเทศนี้ยังมีใครอีกหลายคนที่เขาได้ทำหน้าที่เพื่อประเทศชาติเช่นกัน ถึงแม้จะไม่ได้รับการบันทึกชื่อเอาไว้ในประวัติศาสตร์”
10
สิงหาคม
2564
เนื่องในวาระ 76 ปี วันสันติภาพไทย หรือวันที่นายปรีดี พนมยงค์ ในฐานะผู้สำเร็จราชการแทนประกาศเอกราชของชาติไทย
แนวคิด-ปรัชญา
10
สิงหาคม
2564
เฉพาะประเทศที่มีเอกราชอันแท้จริง และนโยบายต่างประเทศเป็นอิสระเท่านั้นจึงจะสามารถดำเนินนโยบายให้สอดคล้องกับผลประโยชน์ของชาติและประชาชนได้
บทบาท-ผลงาน
9
สิงหาคม
2564
ระหว่างเดินทางจากตึกคณะรัฐมนตรีกลับบ้านเมื่อวันที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2484 ข้าพเจ้ามีความรู้สึกเช่นเดียวกับนายทวี บุณยเกตุและรัฐมนตรีที่ไม่เข้าข้างฝ่ายญี่ปุ่นว่า “กลับบ้านด้วยความรันทดใจเป็นอย่างยิ่ง ชนิดที่เกิดมาในชีวิตไม่เคยมีความรู้สึกเช่นนี้มาก่อนเลย”
เกร็ดประวัติศาสตร์
8
สิงหาคม
2564
พ.ศ. 2489 ได้มีการตั้งชื่อ “นกเขียวก้านตองปีกสีฟ้า” หรือ “นกเขียวลออ” โดยสถาบันสมิธโซเนียน แห่งประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งนกชนิดนี้ถูกค้นพบโดย ‘เฮอร์เบิร์ต จี. เด็กแนน’