ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ข่าวสารและบทความ

เกร็ดประวัติศาสตร์
27
พฤษภาคม
2565
พ.ศ. 2565 นอกจากจะเป็นวาระ 90 ปีแห่งการอภิวัฒน์สยามแล้ว ยังมีอีกวาระสำคัญ นั่นก็คือ 90 ปีแห่งการก่อตั้งสวนโมกขพลาราม 'นริศ จรัสจรรยาวงศ์' ได้นำเสนอ คำสัมภาษณ์บางช่วงบางตอนถึงปฏิกิริยาของพุทธทาสภิกขุภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครองและ "เทศนาเทอดระบอบใหม่" ซึ่งผู้เขียนสันนิษฐานว่าเป็นการเทศนาที่ท่านอาจารย์ได้แสดงขึ้นที่โรงเรียนสารภีอุทิศ เมื่อวันที่ 27 ธ.ค. 2481
บทบาท-ผลงาน
26
พฤษภาคม
2565
ในบทความนี้ ผู้เขียนนำเสนอในเรื่องของ "การประเมินบทบาทที่ปรึกษาต่างชาติ" ว่าเป็นอย่างไร ส่งผลแค่ไหนต่อความสำเร็จในการเจรจาสนธิสัญญาที่ไม่เป็นธรรมของรัฐบาลภายใต้ระบอบเดิม ซึ่งจากงานศึกษาของนักวิชาการที่ผู้เขียนหยิบยกมาพิจารณานั้นได้เสนอไว้ว่า "ที่ปรึกษาชาวต่างชาติหลายคนมิได้แสดงให้เห็นความสามารถเท่าที่ควร"
บทบาท-ผลงาน
25
พฤษภาคม
2565
นายปรีดี พนมยงค์ นักเรียนกฎหมายวัยเพียง 19 ปีที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะและยังเรียนไม่จบ ได้ทำการขออนุญาตเป็นพิเศษต่อผู้พิพากษาเจ้าของคดี รับอาสาว่าความเป็นทนายแก้ต่างให้นายลิ่มซุ่นหงวน ในเวลานั้นได้เกิดการวิพากษ์วิจารณ์กันอย่างมาก ด้วยทนายอาสาผู้นี้นั้น ทั้งเรียนยังไม่จบและยังไม่เคยว่าความใดๆ มาเลยสักครั้งในชีวิต
แนวคิด-ปรัชญา
25
พฤษภาคม
2565
ช่วงถามตอบท้ายกิจกรรม PRIDI Talks #15: วันปรีดี พนมยงค์ 2565 "มุมมอง SDGs เพื่อการพัฒนาสู่ประชาธิปไตยสมบูรณ์"
แนวคิด-ปรัชญา
24
พฤษภาคม
2565
สัจธรรมของระบอบประชาธิปไตยที่จะต้องมีการเรียนรู้และปรับเปลี่ยนอยู่ตลอดเวลา ประชาธิปไตยจึงต้องเปิดกว้างเพื่อให้เกิดกระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน โดยเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมกับการพัฒนา สาระสำคัญของการเข้าสู่ประชาธิปไตยสมบูรณ์ภายใต้เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน จึงเป็นการทำให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมกับกระบวนการพัฒนา
บทบาท-ผลงาน
24
พฤษภาคม
2565
ย้อนกลับไปภายหลังการอภิวัฒน์ ขณะนั้น 'นายปรีดี พนมยงค์' รั้งตำแหน่งเจ้ากระทรวงมหาดไทย ได้มีการเสนอร่าง พรบ.ว่าด้วยระเบียบราชการบริหารแห่งราชอาณาจักรสยาม พ.ศ. 2476 และ พรบ.จัดระเบียบเทศบาล พ.ศ. 2476 เพื่อปรับปรุงโครงสร้างการบริหารราชการแผ่นดินของไทยใหม่ และได้มีการจัดตั้ง "เทศบาล" ขึ้นเป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
แนวคิด-ปรัชญา
23
พฤษภาคม
2565
พริษฐ์ วัชรสินธุ กล่าวถึง แง่มุมของการศึกษาที่มีคุณภาพซึ่งเป็นหนึ่งใน 17 เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (เป้าหมายที่ 4) ที่กำหนดไว้โดยองค์การสหประชาชาติ ซึ่งหากย้อนกลับไปพิจารณาความคิดของนายปรีดี พนมยงค์ จะเห็นได้ว่า ความคิดเรื่องการยกระดับการศึกษาให้มีคุณภาพนี้ปรากฏอยู่ตั้งแต่ในหลัก 6 ประการของคณะราษฎร และการก่อตั้งมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง
เกร็ดประวัติศาสตร์
22
พฤษภาคม
2565
‘อนันต์ โลเกตุ’ เด็กหนุ่มวัย 18 ปี จากอำเภอสุวรรณภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด ลาอุปสมบทจากการบวชสามเณรวัดใกล้บ้าน เพื่อเข้าสมัครเรียนต่อในระดับปริญญาตรีที่มหาวิทยาลัยรามคำแหง เมื่อเปิดเทอมไม่นาน เขาก็ได้ประจักษ์การรัฐประหารด้วยตาของตัวเอง เมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 คือ การเป็นพยานรู้เห็นโดยตรงต่อการใช้กำลังอาวุธเปลี่ยนแปลงรัฐบาลสำเร็จ ครั้งที่ 13 ในประวัติศาสตร์การเมืองไทยสมัยใหม่
แนวคิด-ปรัชญา
21
พฤษภาคม
2565
“การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร” ในอีกไม่กี่ชั่วโมง นอกจากผู้ลงสมัครรับเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครหลายท่านจะมีประวัติภูมิหลังที่น่าสนใจแล้ว ที่ผ่านมาหลายท่านก็ได้ยกนโยบายเกี่ยวกับการพัฒนาเมืองขึ้นมาพูดอย่างหลากหลายมิติ
แนวคิด-ปรัชญา
20
พฤษภาคม
2565
ศิริกัญญา ตันสกุล รองหัวหน้าพรรคก้าวไกล ฝ่ายนโยบาย กล่าวถึง "เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน" นั้น เป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องและสัมพันธ์กับหลายๆ เรื่อง โดยขึ้นอยู่กับว่าจะหยิบเป้าหมายดังกล่าวมาพิจารณาในแง่มุมใด และการพัฒนาที่ยั่งยืนจะไม่เกิดขึ้น หากปราศจากประชาธิปไตยสมบูรณ์