ข่าวสารและบทความ
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
19
พฤษภาคม
2565
ผศ.ชล บุนนาค กล่าวถึงความเชื่อมโยงกันระหว่างแผนการพัฒนาที่ยั่งยืนกับประชาธิปไตยสมบูรณ์ โดยหลักการประชาธิปไตยสมบูรณ์ของนายปรีดี พนมยงค์นั้น สอดคล้องกับ SDGs เป้าหมายที่ 16 ที่ว่าด้วยเรื่องการมุ่งเน้นที่จะส่งเสริมสังคมที่สงบสุขและครอบคลุมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน ให้ทุกคนเข้าถึงความยุติธรรมและสร้างสถาบันที่มีประสิทธิผลรับผิดชอบและครอบคลุมในทุกระดับ
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
19
พฤษภาคม
2565
รางวัลรองชนะเลิศ 'ทุนปาล พนมยงค์' 2565 : นายนภควัฒน์ วันชัย ชั้นปี 1 คณะศิลปศาสตร์
มุมมอง SDGs เพื่อการพัฒนาสู่ประชาธิปไตยสมบูรณ์
บทนำ
การพัฒนา “ระบบ” หรือ “ระบอบ” ของประชาธิปไตยสำหรับประเทศไทย ถือว่าเป็นพัฒนาการที่สำคัญโดยค่อนข้างค่อยเป็นค่อยไปหรือแม้กระทั่งหยุดชะงักในบางเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ อย่างเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516 ในยุคที่ประชาธิปไตย “เบ่งบาน”
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
19
พฤษภาคม
2565
รางวัลชนะเลิศ 'ทุนปาล พนมยงค์' 2565 : นายอติรุจ ดือเระ ชั้นปี 4 คณะรัฐศาสตร์
ข่าวสาร
19
พฤษภาคม
2565
ตามประกาศเรื่อง ประกวดบทความชิงรางวัล “ทุนปาล พนมยงค์” ประจำปี 2565 หัวข้อ ‘มุมมอง SDGs เพื่อการพัฒนาสู่ประชาธิปไตยสมบูรณ์’
บัดนี้ คณะกรรมการตัดสินประกวดบทความชิงรางวัล "ทุนปาล พนมยงค์" ได้พิจารณาบทความที่ส่งเข้าประกวด จำนวน 6 ราย แล้ว ปรากฏว่ามีผู้สมควรได้รับรางวัลดังนี้
รางวัลชนะเลิศ เป็นเงิน 15,000 บาท
นายอติรุจ ดือเระ ชั้นปี 4 คณะรัฐศาสตร์
รางวัลรองชนะเลิศ เป็นเงิน 10,000 บาท
ข่าวสาร
18
พฤษภาคม
2565
วานนี้ (17 พ.ค. 2565) ที่สวนสันติพร อนุสรณ์สถานพฤษภาประชาธรรม ถ.ราชดำเนิน สถาบันปรีดี พนมยงค์ร่วมวางพวงมาลาในโอกาสพิธีรำลึก 30 ปี สดุดีวีรชนพฤษภาประชาธรรมโดยญาติวีรชนมาร่วมงานคับคั่ง
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
18
พฤษภาคม
2565
'ศิริ สันตะบุตร' ผู้ว่าราชการคนสุดท้ายที่มาจากการแต่งตั้ง ดำเนินชีวิตอยู่บนสายงานราชการด้วยการเป็นนักปกครองที่ซื่อสัตย์สุจริต ดังคำกล่าวของ คุณหญิงนันทกา สุประภาตะนันทน์ ปลัดกรุงเทพมหานคร ณ ขณะนั้นว่า “ท่านเป็นคนอ่อนโยน…เป็นคนตรงเป็นไม้บรรทัด”
บทความ • ศิลปะ-วัฒนธรรม
17
พฤษภาคม
2565
ในวาระ 122 ปีชาตกาลของศาสตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์ ยังคงมีเรื่องราวสืบเนื่องจากคุณูปการให้รำลึกถึงท่าน อาทิเช่น ถนนประดิษฐ์มนูธรรม ย่านลาดพร้าว และถนนปรีดี พนมยงค์ ย่านสุขุมวิท ที่จะเล่าถึงในบทความชิ้นนี้[1]
บทความ • บทบาท-ผลงาน
16
พฤษภาคม
2565
ภายใต้รัฐบาลที่มีนายกรัฐมนตรีชื่อ พระยาพหลพลพยุหเสนา “นโยบายสันติภาพ” มีฐานะเป็นเครื่องมือเพื่อบรรลุเป้าหมาย “หลักเอกราช” อันเป็นหนึ่งในหลักหกประการของคณะราษฎร เหตุที่เรื่องนี้กลายมาเป็นเรื่องหลักของรัฐบาล เนื่องมาจาก ประกาศคณะราษฎร ฉบับที่ 1 ที่เสมือนคำมั่นสัญญากับประชาชนนั้น ผู้ก่อการได้เล็งเห็นถึงปัญหาของการสูญเสียเอกราชของประเทศ ที่ต้องเร่งกอบกู้โดยเร็ว
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
15
พฤษภาคม
2565
ความเดิมตอนที่แล้ว : ศุขปรีดาเล่าเรื่อง : ประธานเเห่งสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (สปป.ลาว)
การได้มาซึ่งอำนาจปกครองประเทศ ในด้านหลักต้องถือว่าเป็นผลสำเร็จ แห่งชัยชนะของประชาชนที่จะได้นำพาประเทศชาติไปสู่ความก้าวหน้า ตามการดำเนินไปของสัจธรรมที่สังคมต้องเปลี่ยนแปลงและเติบโตอย่างไม่หยุดยั้ง หากแต่ว่าจะต้องเผชิญและฟันฝ่าอุปสรรคนานัปการ
บทความ • บทบาท-ผลงาน
14
พฤษภาคม
2565
สมัยที่ พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน) ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี รัฐบาลคณะราษฎรได้มีนโยบายส่งเสริมการทำนาโดยจัดให้มีการประกวดพันธุ์ข้าว ซึ่งการประกวดครั้งสำคัญนั้น เกิดขึ้นที่อำเภอบางบัวทอง จังหวัดนนทบุรี เมื่อปลายเดือนธันวาคม พ.ศ. 2477 ท่านนายกรัฐมนตรี คณะรัฐมนตรีและสมาชิกคณะราษฎรบางส่วนยังเดินทางไปมอบรางวัลแก่ผู้ชนะการประกวด อีกทั้งร่วมเกี่ยวข้าวจากแปลงนาของเกษตรกรด้วยตนเอง