ข่าวสารและบทความ
บทความ • บทบาท-ผลงาน
27
มิถุนายน
2565
ในประกาศคณะราษฎร ลงวันที่ 24 มิถุนายน พุทธศักราช 2475 มีหลัก 6 ประการ ที่คณะราษฎรวางไว้ให้เป็นหัวใจของการดำเนินนโยบายภายหลังเปลี่ยนแปลงการปกครองเพื่อบำรุงชีวิตของราษฎรให้ดียิ่งขึ้น ซึ่งหลักข้อ 6. คือ “จะต้องให้การศึกษาอย่างเต็มที่แก่ราษฎร”
ข่าวสาร
26
มิถุนายน
2565
ศุกร์ที่ 24 มิถุนายนที่ผ่านมา ในวาระ 90 ปี แห่งการอภิวัฒน์สยาม สถาบันปรีดี พนมยงค์ จัดงานเสวนา PRIDI Talks #16: 90 ปีแห่งการอภิวัฒน์สยาม “อุดมการณ์เพื่อชาติและราษฎรไทย” ขึ้น ณ หอประชุมศรีบูรพา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
26
มิถุนายน
2565
เป็นที่ทราบกันดีว่า ในปี ๒๖๕๕ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงกลางปีนั้น เป็นช่วงเวลาที่สำคัญอย่างยิ่งยวดต่อบันทึกประวัติศาสตร์ทางจิตวิญญาณและสังคมการเมืองของสยามประเทศ ด้วยเหตุเป็นช่วงครบรอบวาระ ๙๐ ปีแห่งเหตุการณ์ที่สำคัญยิ่ง ๒ เหตุการณ์ที่อุบัติขึ้นใกล้เคียงกัน
ข่าวสาร
25
มิถุนายน
2565
24 มิถุนายน 2565 ทายาทสมาชิกคณะราษฎรร่วมทำบุญให้แก่บรรพบุรุษ ณ วัดพระศรีมหาธาตุฯ เนื่องในวันครบรอบ 90 ปี แห่งการเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาสู่ระบอบประชาธิปไตย เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 นำโดย สุดา - ดุษฎี พนมยงค์ ทายาทนายปรีดี พนมยงค์ พันตรีพุทธินาถ พหลพลพยุหาเสนา ทายาท พลเอกพระยาพหลพลพยุหเสนา ฯลณ
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
24
มิถุนายน
2565
ประวัติศาสตร์ของอนาคต : เฉลิมฉลอง 100 ปีการอภิวัฒน์สยาม รำลึก 90 ปี 24 มิถุนายน 2475 ด้วยการมองไปข้างหน้าอย่างมีความหวัง
ข่าวสาร
24
มิถุนายน
2565
๒๔ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๗๕ มีความสำคัญเพียงใดต่อประเทศชาติ ประชาชนและประชาธิปไตย เป็นสิ่งที่มีการถกเถียงวิพากษ์วิจารณ์กันมานาน ด้วยจุดยืนทางการเมือง อคติทางการเมืองและผลประโยชน์ที่แตกต่างกันไป ข้อถกเถียงวิพากษ์วิจารณ์ต่อเหตุการณ์เปลี่ยนแปลงการปกครองเมื่อ ๙๐ ปีที่แล้ว จึงมีลักษณะของ “คำประกาศ” ของแต่ละฝ่ายมากกว่าเหตุผลหรือหลักฐานข้อเท็จจริง
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
23
มิถุนายน
2565
ปรากฏการณ์ที่บอกความนิยมถึง 1,386,215 เสียง ของผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครคนที่ 17 คือ ความเผ็ดร้อนที่ไม่ธรรมดาของสถานการณ์แข่งขันที่เข้มข้น เพราะมวลชนซึ่งตกอยู่ในความมืดมนถึง 8 ปี หลังรัฐประหาร 2557
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
22
มิถุนายน
2565
‘ปรีดี พนมยงค์’ เป็นผู้เสนอให้เรียกการเปลี่ยนแปลงการปกครองเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 ว่า “อภิวัฒน์” ซึ่งมาจากคำว่า “อภิ” หมายถึง ยิ่ง วิเศษ เหนือ กับคำว่า “วัฒน์” หมายถึง ความเจริญ ความงอกงาม
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
19
มิถุนายน
2565
การที่โฮจิมินห์และพรรคมอบหมายให้หวอเหงียนย้าปรับผิดชอบในด้านการทหาร ซึ่งก็คือ การจัดตั้งกองกำลังติดอาวุธในการต่อสู้เพื่อกู้เอกราช อันสืบเนื่องมาจากการจัดตั้ง “แนวร่วมเวียดมินห์” (VIET NAM DOC LAP DONG MINH HOI) เมื่อวันที่ 19 พฤษภาคม 1941 ช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 จากการประชุมสมัชชาครั้งที่ 8 ของพรรคคอมมิวนิสต์อินโดจีน ณ ฐานที่มั่นภาคตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศ ตรงกับวันคล้ายวันเกิดของโฮจิมินห์พอดี