ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ข่าวสารและบทความ

8
สิงหาคม
2567
สถาบันปรีดี พนมยงค์ มีความเห็นต่อคำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญที่สั่งยุบพรรคก้าวไกล
เกร็ดประวัติศาสตร์
8
สิงหาคม
2567
ประวัติชีวิตของทวี จุลละทรัพย์ ช่วงที่เข้าร่วมปฏิบัติการในขบวนการเสรีไทยสมัยสงครามโลก ครั้งที่ 2 ซึ่งทวีเป็นนายทหารอากาศที่มีอุดมคติว่า “ชาติอยู่เหนือสิ่งอื่นใด”
บทบาท-ผลงาน
7
สิงหาคม
2567
ปรีดี พนมยงค์ เสนอประเด็นเรื่องหลัก 6 ประการที่หนังสือชีวิต 5 แผ่นดินของข้าพเจ้าโดยนายประยูร ภมรมนตรี โดยชี้ว่าข้อเท็จจริงที่แท้นั้น นายประยูรได้ปฏิเสธการดำเนินนโยบายตามหลัก 6 ประการของคณะราษฎร
บทบาท-ผลงาน
6
สิงหาคม
2567
นายปรีดี พนมยงค์ เสนอว่าในบริบทสงครามโลก ครั้งที่ 2 ซึ่งเเผด็จการฟาสซิสต์เรืองอำนาจในประเทศฝ่ายอักษะ พบว่าในไทยนั้นรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม ที่เดิมยึดหลัก 6 ประการและสันติภาพได้มีนายประยูร ภมรมนตรี และหลวงวิจิตรวาทการ หนุนเสริมให้จอมพล ป. เอาอย่างฮิตเลอร์
บทบาท-ผลงาน
5
สิงหาคม
2567
นโยบายสันติภาพระหว่าง 3 เดือนแรกของรัฐบาลซึ่งนายพันเอกหลวงพิบูลสงครามเป็นนายกรัฐมนตรีโดยมีนายปรีดี พนมยงค์ เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังซึ่งรัฐบาลยังยึดหลัก 6 ประการในการดำเนินนโยบาย
เกร็ดประวัติศาสตร์
4
สิงหาคม
2567
ข้อเขียนของนายปรีดี พนมยงค์ ที่เขียนถึงประวัติชีวิตนายซิม วีระไวทยะอย่างละเอียดในหนังสือที่พิมพ์แจกในงานพระราชทานเพลิงศพนายซิม วีระไวทยะ วัดมกุฏกษัตริยาราม เมื่อ พ.ศ. 2486 ซึ่งการเขียนเป็นแบบอักขรวิธีในยุคนั้น
แนวคิด-ปรัชญา
4
สิงหาคม
2567
การสำรวจเศรษฐกิจในชนบทแห่งสยามโดยคาร์ล ซี. ซิมเมอร์แมน เป็นผลงานการแปลชิ้นสำคัญของนายซิม วีระไวทยะ เป็นการสำรวจเศรษฐกิจสยามสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์ฉบับสมบูรณ์ชิ้นแรกที่แสดงให้เห็นปัญหาทางเศรษฐกิจ และสังคมของชาวสยามในภูมิภาค
แนวคิด-ปรัชญา
3
สิงหาคม
2567
การแปลบัญญัติของรัฐธรรมนูญที่เป็นกฎหมายอันสูงสุดของประเทศนั้นมีความสำคัญอย่างยิ่งต่อประชาชน หากมีการตีความกฎหมายไปในทางที่ผิด อาจส่งผลเสียเป็นวงกว้างอย่างมาก ฉะนั้นเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นของประชาชนจึงมีความสำคัญ
บทบาท-ผลงาน
1
สิงหาคม
2567
ไสว สุทธิพิทักษ์ กล่าวถึงบทบาทผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ของปรีดี พนมยงค์ ตั้งแต่ พ.ศ. 2484-2488 ซึ่งเป็นช่วงสงครามโลก ครั้งที่ 2 ที่ปรีดีมีพันธกิจกู้ชาติและรักษาเอกราชของประเทศไว้ได้ด้วยการก่อตั้งขบวนการเสรีไทยในประเทศ
บทบาท-ผลงาน
31
กรกฎาคม
2567
บันทึกประกอบคำประท้วง กรณีหนังสือชีวิต 5 แผ่นดิน เรื่องข้อเท็จจริงในการอภิวัฒน์ 2475 ตอนที่ 10 เสนอข้อมูลการบิดเบือนจากหนังสือชีวิต 5 แผ่นดินของข้าพเจ้าโดยประยูร ภมรมนตรี ในประเด็นสำคัญคือ เรื่องการเสนอธรรมนูญการปกครองฉบับแรก และการโจมตีนายปรีดี พนมยงค์ ในช่วงมิถุนายน 2475