ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ข่าวสารและบทความ

เกร็ดประวัติศาสตร์
8
พฤศจิกายน
2566
ดร.โภคิน พลกุล และ ดร.ปรีชา สุวรรณทัต กล่าวถึงการรัฐประหาร 2490 อันเป็นจุดเปลี่ยนทางการเมืองครั้งสำคัญของไทย ส่งผลให้ท่านปรีดี พนมยงค์ ต้องลี้ภัยออกนอกประเทศไปอย่างถาวร เพื่อใหัควรมกระจ่างแก่สังคมในประเด็นต่อไปนี้
เกร็ดประวัติศาสตร์
7
พฤศจิกายน
2566
เกร็ดทางประวัติศาสตร์เหตุใดจึงเรียกขานชื่อวิลาศ โอสถานนท์ว่า “เหล็กฝรั่งแห่งการเมืองไทย” “ลูกชายเจ้าเมือง” หรือชื่อที่ว่า “ลูกเขยนักหนังสือพิมพ์ชาวจีน” และปาฐกถาว่าด้วยภัยทางอากาศ ซึ่งร้อยเรียงผ่านเรื่องราวชีวิตของท่าน
บทสัมภาษณ์
6
พฤศจิกายน
2566
ศาสตราภิชาน แล ดิลกวิทยรัตน์ ผู้เชี่ยวชาญด้านเศรษฐศาสตร์แรงงาน ประจำจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กล่าวถึงประเด็นด้านแรงงานนับตั้งแต่รากฐานทางเศรษฐกิจภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475 จนถึงประเด็นด้านขบวนการแรงงานรวมถึงหลักประกันทางกฎหมายของแรงงานไทยที่ผกผันไปตามพลวัตของประวัติศาสตร์เศรษฐศาสตร์การเมืองไทย
ศิลปะ-วัฒนธรรม
5
พฤศจิกายน
2566
“แสงสัจจา” [Sang Sajja] ละครร้องแบบไทยสร้างใหม่ ทำการแสดงโดย กลุ่มละครอนัตตา Anatta Theatre เขียนบทและกำกับโดย ประดิษฐ ประสาททอง หนึ่งในสามผู้ร่วมก่อตั้งกลุ่มละครอนัตตาและ ศิลปินศิลปาธรสาขาศิลปะการแสดงคนแรก
เกร็ดประวัติศาสตร์
5
พฤศจิกายน
2566
นิทรรศการ “๕๐ ปี ๑๔ ตุลา ศิลปะจักสำแดง” ด้วยการร่วมมือกันของมูลนิธิ 14 ตุลาและมูลนิธิเด็ก บอกเล่าการเมืองและเรื่องราวของเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516 รวมไปถึงงานเสวนาและผลงานที่จัดแสดงบันทึกเรื่องราวประวัติศาสตร์การเมืองไทย
ชีวิต-ครอบครัว
4
พฤศจิกายน
2566
ปลายได้มีโอกาสไปทัศนศึกษาที่กำแพงเมืองจีนกับเพื่อนร่วมชั้นของเธอ ปลายรู้สึกเหมือนตัวเองกำลังเดินอยู่บนประวัติศาสตร์ เธอได้สัมผัสกับอดีตอันยิ่งใหญ่ของประเทศจีน อีกทั้งเธอยังได้ร่วมปลูกต้นไม้ซึ่งเป็นโครงการของรัฐบาลจีนเพื่อเป็นแนวป้องกันลมและทรายอีกด้วย
แนวคิด-ปรัชญา
3
พฤศจิกายน
2566
จากปัจจัยสำคัญที่ทำให้ญี่ปุ่นและเยอรมนีประสบความสำเร็จนี้ นับเป็นสิ่งที่ประเทศไทยสามารถเรียนรู้จากประสบการณ์ของญี่ปุ่นและเยอรมนีเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจให้เจริญรุ่งเรืองได้
แนวคิด-ปรัชญา
2
พฤศจิกายน
2566
ปรากฏความยอกย้อนของการอธิบายสถานะพระราชกฤษฎีกาที่ 1 จากทัศนะที่มองผ่านการตีความคำจำกัดความของรัฐธรรมนูญในปัจจุบัน จึงจำเป็นต้องย้อนให้ผู้อ่านมองผ่านบริบททางประวัติศาสตร์ของสังคมสยามและการรับรู้สถานะรัฐธรรมนูญของชนชั้นนำในห้วงยามนั้นที่มองร่างพระราชกฤษฎีกาที่ 1 ยังมิได้เป็นรัฐธรรมนูญประชาธิปไตยตามบริบทการเมืองในช่วงเวลานั้น
บทบาท-ผลงาน
1
พฤศจิกายน
2566
คลี่คลายปมความสงสัยเรื่องจุดยืนและความคิดทางการเมืองของนายปรีดีที่ได้ระบุไว้ในบทสัมภาษณ์เรื่อง “Pridi Through a looking glass” ว่าปรัชญาการเมืองของท่านคือ “สังคมนิยมวิทยาศาสตร์ประชาธิปไตย”
ชีวิต-ครอบครัว
31
ตุลาคม
2566
รวบรวมถึงเรื่องราว เรื่องเล่า และบรรยากาศภายใน “บ้านศรีบูรพา” ผ่านบุคคลที่เคยร่วมงานกัน สะท้อนถึงความเป็นเสมือนลมใต้ปีกที่ทำให้บ้านศรีบูรพามีชีวิตชีวาของคุณวาณีสะใภ้แห่งบ้านศรีบูรพาในฐานะศูนย์กลางของเรื่องราวอันควรรำลึกถึง