ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ข่าวสารและบทความ

บทสัมภาษณ์
16
กรกฎาคม
2563
ที่ผ่านมา อจ.ปรีดีท่านได้พยายามทำเพื่อชาติบ้านเมืองตลอดเวลา แต่ก็ยังถูกกลั่นแกล้งใส่ร้าย ไม่ทราบว่าพี่เคยเห็น อจ.ท้อใจหรือเคยบ่นให้ลูก ๆ ฟังบ้างหรือไม่ อันนี้รู้สึกจะเป็นคุณธรรมข้อหนึ่งที่ท่านมีอยู่ คือท่านไม่เคยแสดงความท้อใจและไม่เคยบ่นเลย จนกระทั่งหลายต่อหลายคนเคยพูดเหมือนกันว่า ถ้าเขาโดนสภาพเช่นเดียวกับท่านอาจารย์ก็คงไม่สามารถมีชีวิตอยู่ต่อไปได้ แต่คณพ่อพี่ถึงแม้จะถูกกลั่นแกล้งใส่ร้ายยังไง ท่านก็ยังมีเจตนาบริสุทธิ์ที่จะทำอะไรเพื่อความเจริญของบ้านเมือง จนกระทั่งไปอยู่ที่ประเทศฝรั่งเศสแล้ว ท่านก็ยังพยายามเขียนข้อเสนอความคิดเห็นต่าง ๆ ในบั้นปลายชีวิต แม้เรื่องกรณีสวรรคตก็ไม่เคยบ่น
บทบาท-ผลงาน
16
กรกฎาคม
2563
ในปี 2526 หลังจาก ม.ร.ว.พันธุ์ทิพย์ บริพัตร พระธิดาของพระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นเทววงศ์วโรทัย ได้อ่าน "ชีวประวัติย่อของนายปรีดี พนมยงค์" หลังจากนายปรีดีถึงแก่อสัญกรรมไปแล้ว 'คุณท่าน' ได้ส่งจดหมายถึงท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์
บทสัมภาษณ์
15
กรกฎาคม
2563
อ่านทัศนะของสมเด็จพระพุฒาจารย์ (อาจ อาสภมหาเถระ) หรือที่รู้จักกันในสมณศักดิ์ที่ พระพิมลธรรม เจ้าอาวาสวัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฏ์
เกร็ดประวัติศาสตร์
14
กรกฎาคม
2563
ตามที่ปุถุชนทั้งหลาย มีลูกหลานเป็นต้นหรือลูกหลานมิตรสหายมาปรารภวันเกิดของตนก็ตาม หรือของท่านที่เคารพนับถือของตนก็ตาม ก็เสมือนหนึ่งเป็นการให้ได้มีโอกาสสอบสวนชีวิตของคนแต่ละท่านว่าที่ล่วงลับล่วงเลยไปแล้วนั้น เราได้ดําเนินชีวิตไปเหมาะสมแค่ไหน เพียงใด  ทั้งนี้ก็เพื่อว่า เมื่อว่าชีวิตของเราดําเนินมาในทางที่ไม่ดี เราจะได้แก้ไขปรับปรุงให้มันดีขึ้น หรือเมื่อเห็นว่าชีวิตของเราดําเนินดีถูกต้องอยู่แล้ว ก็อย่าได้ดีใจแต่ให้เพียรทําความดีสืบต่อไป นี่ก็เป็นจุดมุ่งหมายที่คาดคะเนว่าคงจะปรารถนาเช่นนี้จึงได้มีการบําเพ็ญกุศลเนื่องในวันสําคัญของตน 
ศิลปะ-วัฒนธรรม
13
กรกฎาคม
2563
เนติวิทย์ โชติภัทร์ไพศาล นายกสโมสรนิสิตคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เล่าเรื่อง "ปรีดี พนมยงค์" ในฐานะผู้สร้างแรงบันดาลใจให้เขา ตั้งแต่สมัยเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น และการลงมือทำ #จุลสารปรีดี เพื่อเผยแพร่เรื่องราวของรัฐบุรุษอาวุโส และสัจจะทางประวัติศาสตร์
ศิลปะ-วัฒนธรรม
12
กรกฎาคม
2563
หากโลกนี้มีธรรมเป็นอำนาจ ประชาชาติช่วงโชติปราโมทย์สมัย บรรสานสุขยุคมหาประชาธิปไตย ประชาไทยคงเป็นไททั่วหน้ากัน . "นาม ปรีดี พนมยงค์ ธิรงสถิตย์ แบบฉบับผู้อุทิศชีวิตมั่น สู้เพื่อชาติเอกราชเทิดคุณธรรม์ เป็นมิ่งขวัญมวลมหาประชาชน
ชีวิต-ครอบครัว
11
กรกฎาคม
2563
หลิวยู่ซี้ นักไวโอลินผู้มีชื่อเสียงโด่งดังจากสาธารณรัฐประชาชนจีน เขียนจดหมายถึงท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ หลังจากได้รับเชิญจากมูลนิธิปรีดี พนมยงค์ ให้มาแสดงที่เมืองไทยใน พ.ศ. 2537
แนวคิด-ปรัชญา
10
กรกฎาคม
2563
“จิตใจวิทยาศาสตร์” คือ สิ่งที่บุคคลซึ่งจะเข้าใจปรัชญาที่เป็นวิทยาศาสตร์ได้ พึงมี ปรีดี พนมยงค์ อธิบายว่า “จิตใจวิทยาศาสตร์” มี 6 ประการ ได้แก่
บทบาท-ผลงาน
9
กรกฎาคม
2563
หลายคนคงไม่เคยรู้ว่า แท่นพิมพ์ที่ใช้พิมพ์ประกาศคณะราษฎร เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน 2475 นั้น ในเวลาต่อมาจะตกเป็นสมบัติของโรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ที่ใช้พิมพ์ตำราเรียนและหนังสือต่าง ๆ จนเมื่อปลดระวางแล้ว ก็ยังถูกเก็บรักษาไว้ ดังในปัจจุบันจัดแสดง ณ ตึกโดม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์
บทบาท-ผลงาน
8
กรกฎาคม
2563
'เขมภัทร ทฤษฎิคุณ' ตั้งข้อสังเกตถึงสาระสำคัญบางประการใน 'เค้าโครงการเศรษฐกิจ' ของปรีดี พนมยงค์ คือ เรื่องการกระจายอำนาจเพื่อเป็นฐานในทางเศรษฐกิจไปยังพื้นที่ชนบท และการสร้างระบบเศรษฐกิจความมั่นคงของชาติ