ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ข่าวสารและบทความ

บทบาท-ผลงาน
28
เมษายน
2566
แนวทางการปฏิรูปทางเศรษฐกิจและนโยบายการคลัง อันนำไปสู่ความเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางเศรษฐกิจ เมื่อครั้ง 'นายปรีดี พนมยงค์' รั้งตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง พร้อมกับความเป็นมาและความสัมพันธ์ระหว่างระบบไพร่และกลไกทางภาษี อันเป็นเครื่องมือชิ้นสำคัญทางสังคมในระบอบศักดินา
บทบาท-ผลงาน
27
เมษายน
2566
ผลการดำเนินงานตามนโยบายเศรษฐกิจที่ได้จากความพยายามของคณะผู้ก่อการอย่างเป็นรูปธรรม เพื่อการปรับปรุงแก้ไขความป่วยไข้ทางเศรษฐกิจที่บ่อนเซาะชีวิตของราษฎรสยาม ผ่านการจัดทำพระราชบัญญัติให้ใช้บทบัญญัติแห่งประมวลรัษฎากร พุทธศักราช 2481
แนวคิด-ปรัชญา
26
เมษายน
2566
ผลกระทบภายหลังจากการทำสนธิสัญญาเบาว์ริงที่เข้ามาเปลี่ยนแปลงสภาพเศรษฐกิจของสังคมสยาม และการกำหนดประเภทของภาษี รวมถึงผลกระทบของภาษีที่เกิดขึ้นกับสังคม และความพยายามของคณะราษฎรเพื่อสร้างความเป็นธรรมในระบอบภาษีของสยาม
แนวคิด-ปรัชญา
25
เมษายน
2566
กรณีศึกษาการฟ้องร้องกรณี "ค่าไฟแพง" ผ่านกระบวนการต่อสู้คดี เพื่อค้นหาคำตอบต่อประเด็นค่าไฟฟ้าที่มีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น อันเนื่องมาจากปัจจัยในการประกอบกิจการบริหารงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ และเอกชนซึ่งมีส่วนร่วมกันอย่างไม่อาจแยกออกจากกันได้ อันนำไปสู่การต้องแบกรับภาระค่าใช้จ่ายที่มากขึ้นของประชาชน
แนวคิด-ปรัชญา
24
เมษายน
2566
เงื่อนไขที่เป็นไปได้ของการปฏิรูปกองทัพในส่วนของการเกณฑ์ทหาร คือ การระดมกำลังพลด้วยระบบอาสาสมัคร ผ่านการถอดบทเรียนจากประวัติศาสตร์การเมืองโลก ซึ่งนำไปสู่การปรับเปลี่ยนรูปแบบการเกณฑ์ทหารที่สอดคล้องต่อยุคสมัย
ศิลปะ-วัฒนธรรม
23
เมษายน
2566
'แบม — กัญรภา อุทิศธรรม' กับ 'พริม — พริมรติ เภตรากาศ' พร้อมผู้ที่อยู่เบื้องหลังอย่าง 'ครูนาฏ — สินีนาฏ เกษประไพ' ทั้ง 3 ศิลปินร่วมแชร์ความคิดและพูดคุยถึงเส้นทางของ “Body Matters” A body dialogue about women ที่กว่าจะตกผลึกเป็นการแสดงอวดสู่สายตาผู้ชม สื่อความหมายว่าสิทธิเสรีภาพของมนุษย์นั้นไม่มีเพศเป็นตัวแบ่งแยก
เกร็ดประวัติศาสตร์
22
เมษายน
2566
เรื่องราวภายหลังการประกาศเอกราชของเวียดนามกับอุปสรรคที่ถาโถมรอบด้าน 'โฮจิมินห์' ในฐานะผู้นำของชาติได้ดำเนินการเจรจากับเจ้าอาณานิคมฝรั่งเศสเพื่อยืนยันว่าการมีเอกราชของเวียดนามนั้นถือเป็นหลักการสูงสุด ทว่าฝรั่งเศสยังคงบั่นทอนเอกราชของชาติเวียดนามด้วยสารพัดวิธีเท่าที่จะทำได้
ศิลปะ-วัฒนธรรม
21
เมษายน
2566
ความแตกต่างระหว่างชนชั้น ระบบเศรษฐกิจที่ยึดโยงต่อการเมือง และโครงสร้างทางสังคม อันนำไปสู่ส่วนต่อขยายช่องว่างของความเหลื่อมล้ำให้ถ่างกว้างมากขึ้น โดยวิเคราะห์ผ่านวรรคทองของภาพยนตร์ที่ว่า “คนรวยไม่ได้กินเพื่ออิ่ม แต่กินเพื่อรักษาสถานะทางชนชั้นของตน” ซึ่งสะท้อนปรากฏการณ์บางอย่างที่เกิดขึ้นสังคมไทย
แนวคิด-ปรัชญา
20
เมษายน
2566
ผู้อ่านหลายท่านอาจคุ้นเคย "แลไปข้างหน้า" ในฐานะอมตะวรรณกรรมของศรีบูรพา แต่หากสืบสาวย้อนกลับไปจะพบว่า "แลไปข้างหน้า" ถูกใช้เป็นชื่อบทความซึ่งวิพากษ์วิจารณ์การเมืองทั้งฝ่ายรัฐบาลและฝ่ายค้านในช่วงปี พ.ศ. 2492 เพื่อมองไปยังอนาคตข้างหน้าของสังคมไทยด้วยความหวัง
บทบาท-ผลงาน
19
เมษายน
2566
ย้อนรอยฉากหลังทางประวัติศาสตร์และสาระสำคัญของ พ.ร.บ.ว่าด้วยการเลือกตั้งฯ ฉบับแรก ตลอดจนข้อวิจารณ์ของนายปรีดี โดยกล่าวถึงคำชี้แจงของที่มา ตั้งคำถาม และข้อสังเกตถึงการแก้ไข พ.ร.บ.ว่าด้วยการเลือกตั้งฯ พ.ศ. 2475 ต่อพระยามโนปกรณ์ฯ พร้อมด้วยถ้อยแถลง 18 ข้อ ซึ่งสะท้อนถึงการต่อสู้ในระบบรัฐสภาและยืนยันในหลักการระบอบประชาธิปไตยของนายปรีดี