ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ข่าวสารและบทความ

13
ธันวาคม
2566
วันที่ 10 ธันวาคม 2566 ที่ผ่านมา เนื่องในวาระวันรัฐธรรมนูญไทย “สถาบันปรีดี พนมยงค์” ร่วมกับ “วิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์” จัดงานเสวนาวิชาการ PRIDI Talks #23 x PBIC : รื้อ ร่าง สร้าง รัฐธรรมนูญใหม่เพื่อประชาชน ณ หอประชุมศรีบูรพา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์
เกร็ดประวัติศาสตร์
12
ธันวาคม
2566
อาชญาสิทธิ์ ศรีสุวรรณ ร้อยเรียงเรื่องราวขยายภาพความสัมพันธ์ของปาล พนมยงค์ที่มีต่อมิตรสหายอย่าง ‘เยื้อน พานิชวิทย์’ และ 'สัมผัส พึ่งประดิษฐ์' จากบันทึกทางประวัติศาสตร์และบทสัมภาษณ์กับสัมผัส พึ่งประดิษฐ์
11
ธันวาคม
2566
นายปรีดิวิชญ์ พนมยงค์ ทายาทศาสตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์ กล่าวปาฐกถาถึงความสำคัญของวันรัฐธรรมนูญ บทบาทของนายปรีดี พนมยงค์ ต่อการร่างรัฐธรรมนูญฉบับแรก และความมุ่งหมายของรัฐธรรมนูญ ในงานวันฉลองรัฐธรรมนูญ ประจำปี 2566 ณ อาคารรัฐสภา
แนวคิด-ปรัชญา
10
ธันวาคม
2566
นำเสนอเรื่องราวตลอดชีวิตของปรีดี พนมยงค์ ที่ได้รับการหล่อหลอมและการก่อร่างความคิดทางการเมืองของปรีดี พนมยงค์ที่ถ่ายทอดออกมาในรัฐธรรมนูญที่ปรีดี พนมยงค์มีส่วนสำคัญในการร่างออกมาทั้ง 3 ฉบับตั้งแต่อภิวัฒน์ 2475
ศิลปะ-วัฒนธรรม
9
ธันวาคม
2566
“มหกรรมศิลปะร่วมสมัยนานาชาติ เชียงราย” เป็นการนำศิลปินไทยและต่างชาติมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ โดยมี Thailand Biennale เป็นตัวกลางของการแลกเปลี่ยนและผลักดันศิลปวัฒนธรรม เศรษฐกิจ และการท่องเที่ยวของไทยบนพื้นที่จังหวัดเชียงรายที่ได้รับการกล่าวขานว่า “เมืองแห่งศิลปะ”
บทบาท-ผลงาน
8
ธันวาคม
2566
พระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว พุทธศักราช ๒๔๗๕ คือหนึ่งในผลงานสำคัญของนายปรีดี พนมยงค์ภายหลังการอภิวัฒน์สยามเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน 2475 ได้เพียงสองคือวันที่ 27 มิถุนายน 2475 ก็ได้ประกาศใช้ธรรมนูญการปกครองฉบับ
เกร็ดประวัติศาสตร์
8
ธันวาคม
2566
เกร็ดทางประวัติศาสตร์เล็กน้อย ณ ห้วงยามที่กองกำลังญี่ปุ่นกำลังคืบคลานเข้าสู่คาบสมุทรมลายู ถึงบทบาทของคุณวิลาศ โอสถานนท์ในฐานะอธิบดีกรมโฆษณาการ นำเสนอในที่ประชุมประชุมคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 7 และ 8 ธันวาคม 2484
แนวคิด-ปรัชญา
6
ธันวาคม
2566
การเมืองของไทยที่เกิดปรากฏการร่วมมือของฟากฝั่งระหว่างพรรคฝ่ายขวาและฝ่ายซ้ายต่อการเสนอตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาหลักเกณฑ์และวิธีการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ 2560 อันเป็นความหวังใหม่ของการสร้างสรรคการเมืองใหม่?
เกร็ดประวัติศาสตร์
5
ธันวาคม
2566
เนื่องในวาระชาตกาล 114 ปี ‘เตียง ศิริขันธ์’ อาชญาสิทธิ์ ศรีสุวรรณ ย้อนพาผู้อ่านกลับไปหาเรื่องราวก่อนจะมาเป็นสมาชิกผู้แทนราษฎร ผ่านเรื่องราวสมัยเรียนอักษรศาสตร์ การเป็นครู และถูกกล่าวหาว่าเป็นคอมมิวนิสต์จากเรื่องราวของนางงาม
แนวคิด-ปรัชญา
4
ธันวาคม
2566
รัฐธรรมนูญของไทยนั้นมีความเฉพาะหรือพิเศษจากการประกาศยกเลิกและประกาศใช้ฉบับใหม่โดยคณะรัฐประหารที่เข้ามายึดอำนาจการปกครองอยู่บ่อยครั้ง หรืออาจกล่าวได้ว่ารัฐธรรมนูญไทยแต่ละฉบับมีอายุเฉลี่ยได้เพียง 4.5 ปีเท่านั้น เพราะมักจะถูกรัฐประหารทำให้เกิดการแก้ไข เพิ่มเติม และเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ