ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ข่าวสารและบทความ

แนวคิด-ปรัชญา
4
มิถุนายน
2566
ความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ คือ หัวใจสำคัญของสิทธิมนุษยชน กล่าวคือ การห้าม การกีดกัน และเลือกปฏิบัติไม่ว่าด้วยเหตุผลทางใด ล้วนแล้วแต่เป็นจุดเริ่มต้นบนพื้นฐานความเสมอภาคทางเพศ ทว่าความเหลื่อมล้ำที่ต้องพบเจอด้วยอคติทางเพศล้วนกลับยังคงดำเนินต่อไปในสังคม อีกทั้งยังคงมุ่งบั่นทอนทั้งทางตรงและทางอ้อมในเชิงปัจเจกบุคคลรวมไปถึงในเชิงโครงสร้าง
เกร็ดประวัติศาสตร์
3
มิถุนายน
2566
เถ้าถ่านแห่งสงครามที่ยังไม่ทันมอดดับหลังจากความปราชัยของฝรั่งเศส และแล้วไฟสงครามก็ลุกโชนอีกครั้งในแผ่นดิน หลังจากสหรัฐอเมริกาเปิดฉากโจมตีเวียดนามเพื่อสกัดกั้นการเติบโตของลัทธิคอมมิวนิสต์ สงครามระลอกดังกล่าวอุบัติขึ้นในช่วงบั้นปลายชีวิตของโฮจิมินห์
แนวคิด-ปรัชญา
2
มิถุนายน
2566
ข้อสังเกตบางประการต่อกระบวนการสร้างระบอบประชาธิปไตยและการลดหรือเพิ่มของระดับการคอร์รัปชันซึ่งเกี่ยวเนื่องอย่างมีนัย เพื่อตอบสมมติฐานที่ว่า “คอร์รัปชันน้อย ประชาธิปไตยจึงดี หรือ ประชาธิปไตยดี จึงมีคอร์รัปชันน้อย”
แนวคิด-ปรัชญา
1
มิถุนายน
2566
กฎหมายปกครองว่าด้วยหลักคิดของความเป็นประเทศ แผ่นดิน และรัฐ นิยามของทั้ง 3 รูปแบบดังกล่าวเป็นอย่างไร รวมไปถึงความเป็นรัฐเดี่ยว รัฐรวม รัฐเอกราชเต็มที่ และรัฐไม่เอกราชเต็มที่ เพื่อทำความเข้าใจและขยายเพดานความรู้เบื้องต้นในฐานคิดการก่อกำเนิดของสังคมมนุษย์
เกร็ดประวัติศาสตร์
30
พฤษภาคม
2566
รำลึก 62 ปี การจากไปของครูครอง จันดาวงศ์ ลูกอีสานผู้รักชาติ รักประชาชน รักประชาธิปไตย โดยข้อเขียนของสัมผัส พึ่งประดิษฐ์ ผู้ได้ร่วมทุกข์ ร่วมสุขในยามยากลำบากพร้อมกับครูครอง จันดาวงศ์
แนวคิด-ปรัชญา
30
พฤษภาคม
2566
ชวนพิจารณาวุฒิสภาไทยเปรียบเทียบกับความจำเป็นในบทบาทของสภาสูงในระดับสากลว่ามีความแตกต่างกันอย่างไร และบทบาทของวุฒิสภาเป็นอย่างไรในโลกปัจจุบัน
แนวคิด-ปรัชญา
29
พฤษภาคม
2566
ค้นหาคำตอบจากหลักวิชาการทางกฎหมายมหาชนและรัฐธรรมนูญ โดยย้อนกลับไปสู่นิยามของ "นายกรัฐมนตรี" และ "ประธานาธิบดี" ตำแหน่งทางการเมืองที่ยึดโยงอย่างมีนัยสำคัญต่อรูปแบบการปกครองและอำนาจอธิปไตยของรัฐ พร้อมทั้งพิจารณาเหตุและผลของที่มาในตำแหน่งนายกรัฐมนตรี อันสัมพันธ์ต่อกลไกของระบบตัวแทนจากประชาชน
เกร็ดประวัติศาสตร์
28
พฤษภาคม
2566
โฮจิมินห์ เชิญ นายปรีดี พนมยงค์ พร้อมด้วยคณะติดตามเดินทางไปยังเวียดนาม การเยี่ยมเยือนในครั้งนั้นเป็นไปอย่างด้วยความชื่นมื่นระหว่างสองผู้อภิวัฒน์ ถึงแม้คราวนี้จะเป็นครั้งแรกที่บุรุษทั้งสองได้พบปะกัน ทว่ากลับอบอวลไปด้วยบทสนทนาที่ลื่นไหลและถูกคอ ส่งผลความสัมพันธ์อันดีของทั้งสองประเทศดำเนินมาจนกระทั่งปัจจุบัน
บทสัมภาษณ์
27
พฤษภาคม
2566
117 ปี ชาตกาล พุทธทาสภิกขุ (27 พ.ค. 2449 - 2566) ชวนอ่านชีวประวัติย่อเบื้องต้นพร้อมวัตรปฏิบัติภายใต้ร่มเงาพุทธศาสนาของ 'พุทธทาสภิกขุ' ผ่านวิธีคิดทั้งทางทฤษฎีและการปฏิบัติซึ่งสะท้อนแนวทางที่มีลักษณะอิงอยู่กับธรรมชาติของมนุษย์สามัญ อันเป็นการเติบโตผ่านวันเวลาและการเรียนรู้พุทธศาสนาด้วยปัญญา
ศิลปะ-วัฒนธรรม
26
พฤษภาคม
2566
จากการต่อสู้ของชาวบ้านบางกลอยและหมู่บ้านใจแผ่นดินที่ต้องทัดทานกับอำนาจของรัฐ จนถึงกรณีการบังคับสูญหายบิลลี่ สู่ “Behind The Mount หลังเขา” การแสดง art performance ในรูปแบบ devising สื่อความหมายและชวนตั้งคำถามถึงความรุนแรงที่เกิดขึ้นต่อชีวิตของใครหลายๆ คนที่รัฐและเจ้าหน้าที่รัฐพึงรับผิดชอบ