ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ข่าวสารและบทความ

แนวคิด-ปรัชญา
12
ตุลาคม
2567
กุหลาบ สายประดิษฐ์ วิจารณ์เรื่องการแถลงนโยบายของรัฐบาลเมื่อ พ.ศ. 2492 ว่าเป็นเสมือนคำอธิษฐานที่ไม่สามารถดำเนินการในทางปฏิบัติให้เป็นประโยชน์แก่ราษฎรได้โดยเฉพาะเรื่องการราชทัณฑ์
เกร็ดประวัติศาสตร์
11
ตุลาคม
2567
บันทึกความทรงจำเรื่อง “ตำรวจเชลย” ที่มีบทบาทในการปราบกบฏบวรเดช โดยผ่านหลักฐานความทรงจำและหลักฐานชั้นต้น
เกร็ดประวัติศาสตร์
10
ตุลาคม
2567
ไสว สุทธิพิทักษ์ เล่าถึงบริบทการเมืองสยามก่อนเหตุการณ์กบฏบวรเดชไม่นานนักในช่วงที่นายปรีดี พนมยงค์ ได้รับการแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรีลอยเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2476 และสะท้อนให้เห็นการประสานความขัดแย้งของนายปรีดีกับชนชั้นนำ
วันนี้ในอดีต
9
ตุลาคม
2567
จำลอง ดาวเรือง รัฐมนตรีผู้รักประชาธิปไตย บุคคลผู้มีบทบาทสำคัญทางการเมืองกับบทบาทในขบวนการเสรีไทยในภาคอีสาน และบุคคลผู้ถูกสังหารจากเหตุการณ์สังหาร 4 อดีตรัฐมนตรี พ.ศ. 2492
แนวคิด-ปรัชญา
8
ตุลาคม
2567
นายปรีดี พนมยงค์ ระบุไว้ในบันทึกประกอบการประท้วงว่าหนังสือชีวิต 5 แผ่นดินของข้าพเจ้าโดยนายประยูร ภมรมนตรี บิดเบือนข้อเท็จจริงเรื่องการอภิวัฒน์สยามคือนายประยูรอ้างว่าตนเป็นผู้ที่ชักชวนให้บุคคลสำคัญมาเข้าร่วมการอภิวัฒน์
วันนี้ในอดีต
7
ตุลาคม
2567
สังเขปประวัติชีวิตและงานของจรูญ สิงหเสนี หรือหลวงราชไมตรี โดยเฉพาะที่เกี่ยวข้องกับคณะราษฎร
เกร็ดประวัติศาสตร์
6
ตุลาคม
2567
ป๋วย อึ๊งภากรณ์ เขียนถึงเหตุการณ์ 6 ตุลา 2519 ด้วยการสรุปบริบททางการเมือง และเหตุการณ์อย่างละเอียดโดยขณะที่เกิดเหตุการณ์นั้นป๋วยดำรงตำแหน่งอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และลาออกในวันที่ 6 ตุลาคม 2519
6
ตุลาคม
2567
    วันนี้ (6 ตุลาคม 2567) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จัดงานรำลึก 48 ปี 6 ตุลาฯ 2519 ประจำปี 2567 บริเวณสวนประติมากรรมประวัติศาสตร์ “ธรรมศาสตร์กับการต่อสู้เพื่อประชาธิปไตย” เริ่มด้วยการทำบุญตักบาตรพระสงฆ์เป็นจำนวน 19 รูป และตามด้วยการกล่าวเปิดงานโดย ศ. ดร.ศุภสวัสดิ์ ชัชวาลย์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และเชิญผู้ร่วมงานยืนไว้อาลัยแด่ผู้เสียชีวิตในเหตุการณ์ 6 ตุลาฯ  
แนวคิด-ปรัชญา
5
ตุลาคม
2567
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรฝ่ายค้านได้วิพากษ์ตำหนิ การกระทำของรัฐบาลและบุคคลที่เกี่ยวข้อง และข้อเสียนโยบายของรัฐบาลที่ได้แถลง
บทบาท-ผลงาน
4
ตุลาคม
2567
ศาสตราจารย์ ดร.อิสสระ นิติทัณฑ์ประภาศ เสนอข้อเท็จจริงเกี่ยวกับการช่วยเหลือทหารที่ปลดประจำการ ในรัฐบาลนายปรีดี พนมยงค์กับ การนำเสนอร่างพระราชบัญญัติอนุญาตให้รัฐบาลจ่ายเงินไปพลางก่อน พุทธศักราช 2489 ต่อสภาผู้แทนราษฎร