ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

บทความ

บทความ เว็บไซต์สถาบันปรีดี พนมยงค์ PRIDI BANOMYONG INSTITUTE

ชีวิต-ครอบครัว
12
พฤษภาคม
2564
จดหมายจากท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ ถึงหลานชาย
แนวคิด-ปรัชญา
11
พฤษภาคม
2564
กระแสธารแห่งการเปลี่ยนแปลงไหลเชี่ยวกรากยิ่งในช่วงทศวรรษ ๒๔๖๐ และ ๒๔๗๐ เริ่มตั้งแต่การล่มสลายลงของจักรวรรดิรัสเซีย พระเจ้าซาร์นิโคลัสที่ ๒ แห่งราชวงศ์โรมานอฟถูกโค่นล้ม
บทบาท-ผลงาน
11
พฤษภาคม
2564
ณ บริเวณฝั่งเหนือของคลองเมืองหลวง ห่างจากมุมกำแพงพระราชวังโบราณ (จังหวัดพระนครศรีอยุธยา) ด้านตะวันตกประมาณเกือบ 1 กิโลเมตร มีวัดหนึ่งตั้งอยู่ ผู้เฒ่าได้เล่าสืบทอดต่อๆ กันมาว่า
บทสัมภาษณ์
9
พฤษภาคม
2564
PRIDI Interview ษัษฐรัมย์ ธรรมบุษดี: การต่อสู้เพื่อรัฐสวัสดิการ คือ การต่อสู้เพื่อความเสมอภาคของประชาชน
แนวคิด-ปรัชญา
7
พฤษภาคม
2564
ตัดตอนมาจาก เวทีวิชาการการนำเสนองานวิจัยและบทความ “จินตนาการสู่สังคมไทยเสมอหน้า” ข้อเสนอนโยบายการเข้าถึงสวัสดิการสังคม และ สุขภาวะ หัวข้อ “ประกันสังคมและกฎหมายแรงงาน” โดย รศ.ดร. ษัษฐรัมย์ ธรรมบุษดี
บทบาท-ผลงาน
5
พฤษภาคม
2564
สถานการณ์การระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19 สะท้อนภาพของระบบสวัสดิการโดยรวมของสังคมไทยว่าอยู่ในขั้นวิกฤตโดยเฉพาะด้านสาธารณสุข
ชีวิต-ครอบครัว
4
พฤษภาคม
2564
เสี้ยววินาทีจากนั้น โทรศัพท์ดังขึ้น เป็นเสียงของน้องวาณี แจ้งข่าวร้ายว่า “คุณพ่อสิ้นใจอย่างสงบที่โต๊ะทำงาน ณ บ้านอองโตนี ประเทศฝรั่งเศส”
บทบาท-ผลงาน
4
พฤษภาคม
2564
เดือนมิถุนายน พ.ศ. 2479 ‘หลวงประดิษฐ์มนูธรรม’ หรือ ‘นายปรีดี พนมยงค์’ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ‘พระยาฤทธิอัคเนย์’ (สละ เอมะศิริ) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตราธิการ และ คณะผู้ติดตามได้ออกเดินทางไปตรวจราชการและเยือนหลายจังหวัดทางภาคใต้
บทสัมภาษณ์
3
พฤษภาคม
2564
ครั้งแรกกับท่านปรีดี และ ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ ที่ปารีสประเทศฝรั่งเศส พ.ศ. 2513 (1970) กับ ครั้งสุดท้ายในบางกอก สยามประเทศ (ไทย) พ.ศ. 2544 (2001)
Subscribe to บทความ