ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

บทความ

บทความ เว็บไซต์สถาบันปรีดี พนมยงค์ PRIDI BANOMYONG INSTITUTE

เกร็ดประวัติศาสตร์
11
กรกฎาคม
2564
อาจก่อความแปลกใจให้แก่คุณผู้อ่านไม่น้อยทีเดียวว่า “พระยาพหลพลพยุหเสนา” (พจน์ พหลโยธิน) ผู้นำคณะราษฎรสายทหารที่ร่วมก่อการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475
บทบาท-ผลงาน
10
กรกฎาคม
2564
“กฎหมายมหาชน” เป็นนวัตกรรมทางกฎหมายที่ประเทศไทยนำเข้าจากต่างประเทศ ในฐานะของกลุ่มสาขาวิชากฎหมายที่มีส่วนในการกำหนดขอบเขตการใช้อำนาจรัฐมิให้ละเมิดต่อสิทธิและเสรีภาพของประชาชน
แนวคิด-ปรัชญา
9
กรกฎาคม
2564
ภารกิจในการสร้างรัฐเวชกรรม ตามเป้าประสงค์ตั้งต้นของคณะราษฎร ไม่ได้โรยด้วยกลีบกุหลาบตั้งแต่แรก
บทสัมภาษณ์
8
กรกฎาคม
2564
“คณะราษฎร 2475” คือ ปรากฏการณ์ทางประวัติศาสตร์การเมืองไทยที่สำคัญมากและเป็นหัวเลี้ยวหัวต่อของความเปลี่ยนแปลงในแง่ของสังคม ในแง่ของการเมือง ในแง่ของอะไรอีกหลายอย่าง รวมทั้งเศรษฐกิจ และเรื่องวัฒนธรรม”
แนวคิด-ปรัชญา
6
กรกฎาคม
2564
สิ่งที่เราจะเห็นภาพก็คือขณะนี้มีขบวนการคนรุ่นใหม่กำลังต่อสู้กำลังตั้งคำถามและกำลังทวงคืนจิตวิญญาณของการเปลี่ยนแปลงการปกครองเมื่อ 89 ปีที่แล้ว
แนวคิด-ปรัชญา
5
กรกฎาคม
2564
เรื่องเล็กๆ อย่าง “น้ำประปา” ของเทศบาลเพื่อจะนำไปสู่ปัญหาที่ใหญ่กว่านั้นว่าจะแก้ไขปัญหาน้ำประปาในประเทศไทยได้จะต้องจัดการอย่างไรกับโครงสร้าง
แนวคิด-ปรัชญา
3
กรกฎาคม
2564
ตั้งแต่ยุคท่านปรีดี ปัญหาใหญ่ของระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์นั้นก็คือไม่มีความเท่าเทียมกันของผู้คนในทางกฎหมาย
แนวคิด-ปรัชญา
2
กรกฎาคม
2564
“การอภิวัฒน์ 2475” นับว่าเป็นความกล้าหาญของคณะผู้ก่อการ ซึ่งเรียกว่า “คณะราษฎร” ท่านทั้งหลายเหล่านั้นก็มีเป้าหมายที่จะให้สยามประเทศได้เจริญก้าวหน้าเหมือนประเทศที่พัฒนาแล้ว โดยยึดโยงกับหลัก 6 ประการ
Subscribe to บทความ