ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

บทความ

บทความ เว็บไซต์สถาบันปรีดี พนมยงค์ PRIDI BANOMYONG INSTITUTE

แนวคิด-ปรัชญา
30
มิถุนายน
2567
ปรีดี พนมยงค์ รัฐบุรุษอาวุโสได้ จากมาตุภูมิไปเยือนมิตรประเทศ ในนามทูตสันถวไมตรีของประเทศไทยเมื่อวันที่ 29 ตุลาคม 2489 ราว 3 เดือนครึ่งโดยไปเยือนประเทศจีนเป็นแห่งแรกจากนั้นจึงมุ่งสู่ฟิลิปปินส์ สหรัฐอเมริกา อังกฤษ ฝรั่งเศส สวิตเซอรแลนด์ เดนมารค สวีเดน และนอรเวย์ รวม 9 ประเทศ
แนวคิด-ปรัชญา
29
มิถุนายน
2567
แล ดิลกวิทยรัตน์ กล่าวถึงอุดมการณ์ของคณะราษฎรในการเปลี่ยนแปลงการปกครองว่าอยู่ภายใต้หลักประชาธิปไตยที่มีรัฐธรรมนูญแบบประชาธิปไตย และเสนอแนวคิดประชาธิปไตยสมบูรณ์ของปรีดี พนมยงค์ไว้ว่าต้องประกอบด้วย 3 แนวทาง คือประชาธิปไตยทางการเมือง ประชาธิปไตยทางเศรษฐกิจ และประชาธิปไตยทางสังคม
เกร็ดประวัติศาสตร์
29
มิถุนายน
2567
วันชาติ พ.ศ. 2484 กรมโฆษณาการโดยรัฐบาลได้ริเริ่มจัดพิมพ์หนังสือรายเดือนหัวสำคัญชื่อว่า “เมืองไทย หนังสือภาพ” จำหน่ายในราคาเล่มละ 1 บาท ตัวเล่มจัดพิมพ์โดยโรงพิมพ์ไทยเขษม แล้ววางตลาดต่อเนื่องนับจากวันชาติ พ.ศ. 2484 จนถึงฉบับสุดท้ายเพื่อเฉลิมฉลอง “งานรัฐธรรมนูญ” บทความนี้จะนำเสนอเกร็ดประวัติศาสตร์จาก “เมืองไทย หนังสือภาพ” จำนวน 5 เล่ม
บทบาท-ผลงาน
28
มิถุนายน
2567
นายปรีดี พนมยงค์ ดำรงตำแหน่งเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรเป็นช่วงระยะเวลาสั้นๆ ระหว่างวันที่ 28 มิถุนายน 2475 ถึงวันที่ 11 เมษายน 2476 และมีส่วนสำคัญในการวางรากฐานงานของสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรในปัจจุบัน
แนวคิด-ปรัชญา
27
มิถุนายน
2567
พัฒนาการประชาธิปไตยไทยเหมือนกราฟ ขึ้นลงตลอด 92 ปี เคยถึงจุดสูงสุดแต่ก็ตกต่ำลงมา ศิธาเปรียบการเมืองไทยเป็น “ต้นไม้ประชาธิปไตยทาบกิ่งเผด็จการ” ที่มีเอกภาพของคนกระหายอำนาจมารวมกัน ขบวนการประชาธิปไตยจึงต้องเป็นเอกภาพในอุดมการณ์และเจตนารมณ์
เกร็ดประวัติศาสตร์
27
มิถุนายน
2567
บทความนี้เสนอเรื่องนายปรีดี พนมยงค์ จะเดินทางกลับจากปารีสมายังเมืองไทย เมื่อ พ.ศ. 2518 ผ่านหนังสือพิมพ์หลัก 2 ฉบับคือ เดลินิวส์ และไทยรัฐ และมีคำปราศรัยของนายปรีดีถึงชาวธรรมศาสตร์ในวาระครบรอบ 41 ปีวันสถาปนามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์เมื่อวันที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2518
แนวคิด-ปรัชญา
27
มิถุนายน
2567
การก่อตั้งมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมืองเมื่อปี 2477 โดยนายปรีดี พนมยงค์ และคณะราษฎณ เป็นสถาบันอุดมศึกษา อันสร้างคน นักประชาธิปไตย นักปกครอง นักการเมือง อันเป็นกำลังของชาติให้แก่ประเทศไทย
เกร็ดประวัติศาสตร์
26
มิถุนายน
2567
ความเปลี่ยนแปลงเชิงวัฒนธรรมกับการทำสัญญะของระบอบการปกครองใหม่ เสนอมิติทางวัฒนธรรมหลังการอภิวัฒน์สยามผ่านงานวันชาติและรัฐพิธีฉลองรัฐธรรมนูญ และสัญญะของระบอบการปกครองใหม่ผ่านศิลปะ-สถาปัตยกรรม และการสร้างความหมายของราษฎร
แนวคิด-ปรัชญา
26
มิถุนายน
2567
‘ความเห็นแตกต่าง’ เป็นปัจจัยสำคัญของการสร้างประชาธิปไตย และ ‘ระบอบประชาธิปไตย’ นั้น อาจเป็นโครงการที่ไม่สิ้นสุด แม้จะผลักดันให้ประเทศเป็นประชาธิปไตยในแง่หลักการพื้นฐานได้แล้วก็ตาม แต่ย่อมจะเกิดความต้องการอื่นๆ ตามมาอย่างลึกซึ้งและซับซ้อนขยายจากพรมแดนแห่งหลักการพื้นฐานทางประชาธิปไตย
บทบาท-ผลงาน
26
มิถุนายน
2567
บันทึกประกอบคำประท้วง กรณีหนังสือชีวิต 5 แผ่นดิน เรื่องข้อเท็จจริงในการอภิวัฒน์ 2475 ตอนที่ 5 ชี้ให้เห็นว่ามีการบิดเบือนเรื่องสำคัญคือ ได้ล้มเลิกโครงการเศรษฐกิจพลิกแผ่นดินของหลวงประดิษฐ์มนูธรรม และได้ปรับปรุงรัฐธรรมนูญ และเลิกคําว่ากรรมการราษฎร (แทนเสนาบดี) มาเป็น “รัฐมนตรี” ซึ่งจากข้อเท็จจริงจากหลักฐานทางประวัติศาสตร์พบว่า ไม่เป็นความจริงทั้ง 2 ประการ
Subscribe to บทความ