ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

บทความ

บทความ เว็บไซต์สถาบันปรีดี พนมยงค์ PRIDI BANOMYONG INSTITUTE

แนวคิด-ปรัชญา
25
กรกฎาคม
2567
การแก้ไขความยากจนให้แก่ราษฎรในแนวคิดของ ดร.ปรีดี พนมยงค์ที่ท่านได้มองว่าเป็นปัญหาที่สำคัญอย่างยิ่งต่อการขับเคลื่อนเพื่อการพัฒนาประเทศ ตามหลักของคณะราษฎร โดยจะต้องบำรุงความสุขสมบูรณ์ของราษฎรในทางเศรษฐกิจ
บทสัมภาษณ์
24
กรกฎาคม
2567
บทสัมภาษณ์ประสบการณ์ของ อรุณ เวชสุวรรณ อดีตนักหนังสือพิมพ์ผู้เคยเดินทางไปสัมภาษณ์อาจารย์ปรีดี พนมยงค์ ครั้งเมื่อท่านยังมีชีวิตอยู่ ณ บ้านอองโตนี ประเทศฝรั่งเศส ได้พูดคุยถึงประเด็นต่างๆ มากมายที่มีความเกี่ยวข้องกับอ. ปรีดีฯ
บทบาท-ผลงาน
24
กรกฎาคม
2567
บันทึกประกอบคำประท้วง กรณีหนังสือชีวิต 5 แผ่นดิน เรื่องข้อเท็จจริงในการอภิวัฒน์ 2475 ตอนที่ 9 เสนอว่าข้อมูลทางประวัติศาสตร์ในหนังสือชีวิต 5 แผ่นดินของข้าพเจ้าโดยประยูร ภมรมนตรี นั้นบิดเบือนในประเด็นสำคัญคือ เรื่องปฐมรัฐธรรมนูญ, พระยาทรงสุรเดช และพระยามโนปกรณ์นิติธาดา
บทบาท-ผลงาน
23
กรกฎาคม
2567
การแข่งขันโต้วาทีครั้งแรกของสยามในวันที่ 18 สิงหาคม 2478 ด้วยญัตติ “ร้อนดีกว่าเย็น” มีพระยาโอวาทวรกิจ เป็นหัวหน้าฝ่ายเสนอ และมีรองอำมาตย์โทวิเชียร ฉายจรรยา เป็นหัวหน้าฝ่ายค้าน โดยมีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงธรรมการคือ พระสารสาสน์ประพันธ์สนับสนุนให้จัดการแข่งขันโต้วาทีชิงรางวัลขึ้น
เกร็ดประวัติศาสตร์
22
กรกฎาคม
2567
ชีวประวัติย่อและบทบาทของคุณหญิงแร่ม พรหโมบล บุณยประสพ ผู้เป็นเนติบัณฑิตหญิงคนแรกของประเทศไทย เป็นผู้ร่วมก่อตั้ง และอุปนายกคนแรกของสมาคมสตรีไทย ตั้งแต่ พ.ศ. 2475 และเป็นผู้มีส่วนสำคัญในการผลักดันมาตรา 28 ซึ่งบัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ ว่า “หญิงและชายมีสิทธิเท่าเทียมกัน”
ศิลปะ-วัฒนธรรม
21
กรกฎาคม
2567
พาไปชมละครเวทีเรื่องบุพกาลีที่สะท้อนปัญหาครอบครัวและเยาวชนซึ่งดัดแปลงมาจากบทละครเรื่อง God of Carnage (“Le Dieu du carnage”) ผลงานสร้างชื่อของนักประพันธ์หญิงชาวฝรั่งเศส ยัสมินา เรซา (Yasmina Reza) และแนวทางการแก้ไขปัญหาเยาวชนจากทิชา ณ นคร
เกร็ดประวัติศาสตร์
20
กรกฎาคม
2567
การเมืองของประเทศจะสามารถดำเนินไปได้อย่างมีเสถียรภาพตามครรลองระบอบประชาธิปไตย จำเป็นต้องประกอบไปด้วยฝ่ายค้านและฝ่ายรัฐบาลที่สามารถทำหน้าที่ถ่วงดุลซึ่งกันและกันได้อย่างเป็นระบบตามความต้องการของราษฎรในประเทศ
บทบาท-ผลงาน
18
กรกฎาคม
2567
บทบาทของนายปรีดีด้านการต่างประเทศ ในทศวรรษ 2480-2510 ชี้ให้เห็นว่านายปรีดีมีบทบาทในการต่างประเทศมาตั้งแต่ก่อนสงครามโลก ครั้งที่ 2 และในการประชุมเรื่ององค์การความร่วมมือส่วนภูมิภาค โดยเป็นจุดก่อร่างแนวคิดการก่อตั้งองค์การสันนิบาตเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในไทยต่อมา
บทบาท-ผลงาน
17
กรกฎาคม
2567
บันทึกประกอบคำประท้วงฯ ตอนที่ 8 ของนายปรีดี พนมยงค์เสนอว่าข้อมูลทางประวัติศาสตร์ในหนังสือชีวิต 5 แผ่นดินของข้าพเจ้าโดยประยูร ภมรมนตรีเล่มนี้บิดเบือนในประเด็นสำคัญคือ แต่งเรื่องขึ้นว่าในหลวงทรงรับสั่งถึงการไม่มีพระราชโอรส ฯลฯ ในวันที่ผู้แทนคณะราษฎรเข้าเฝ้า
เกร็ดประวัติศาสตร์
16
กรกฎาคม
2567
พระราชนิพนธ์แปลเรื่อง ‘ผีเสื้อ’ ของสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ เป็นเรื่องสั้นขนาดยาวที่บันทึกความเปลี่ยนแปลงของสังคมจีนในช่วงการปฏิวัตินธรรม ค.ศ.1966-1969 แสดงให้เห็นผลกระทบทางการเมืองต่อชีวิตมนุษย์ในสังคม
Subscribe to บทความ