ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

บทความ

บทความ เว็บไซต์สถาบันปรีดี พนมยงค์ PRIDI BANOMYONG INSTITUTE

บทบาท-ผลงาน
5
กรกฎาคม
2567
บทความนี้เสนอนโยบายการจัดการศึกษาหลังการอภิวัฒน์ 2475 ตามหลัก 6 ประการในข้อ 6. “จะต้องให้การศึกษาอย่างเต็มที่แก่ราษฎร” ส่งผลให้มีการก่อตั้งมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมืองขึ้นและในวันที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2482 ได้มีการแต่งตั้งศาสตราจารย์วิสามัญฯ ขึ้นซึ่งสะท้อนนัยการเมือง
บทบาท-ผลงาน
4
กรกฎาคม
2567
ข้อ 7. ของบันทึกประกอบคำประท้วงของปรีดี พนมยงค์ มี 3 ประเด็นที่นายปรีดี โต้แย้งหนังสือของนายประยูร ภมรมนตรี ได้แก่ 1. ธรรมนูญการปกครองแผ่นดินซึ่งผู้แทนคณะราษฎรได้ทูลเกล้าฯ ถวายเพื่อขอพระราชทานนั้นยังคงมี “เสนาบดี” หรือไม่? ประเด็น 2. พระยาทรงสุรเดชได้กำชับปรีดีให้ร่างรัฐธรรมนูญตามแบบอังกฤษหรือไม่ ประเด็น 3. พล.ท.ประยูรฯ ปฏิเสธว่าไม่ได้รู้เห็นด้วยในการร่างรัฐธรรมนูญนั้นฟังว่าเอาเป็นจริงได้หรือ
แนวคิด-ปรัชญา
3
กรกฎาคม
2567
ช่วงถาม-ตอบ จากคำถามจากเอกภาพขบวนการประชาธิปไตย สู่ประชาธิปไตยสมบูรณ์ จากบทเรียน 2475 สู่อนาคต จากงาน PRIDI Talks#26
เกร็ดประวัติศาสตร์
3
กรกฎาคม
2567
บทความนี้ศึกษาพัฒนาการองค์ความรู้เกี่ยวกับสันติวิธีและความไม่รุนแรงทางการเมืองไทยของศาสตราจารย์ ดร.ชัยวัฒน์ สถาอานันท์ในทศวรรษ 2510-2550 โดยผลของความรุนแรงทางการเมืองไทยภายหลังเหตุการณ์ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2519 คือต้นธารที่ก่อให้เกิดองค์กรด้านสิทธิมนุษยชนและสันติวิธี
แนวคิด-ปรัชญา
2
กรกฎาคม
2567
ศาสตราจารย์ ดร.ชัยวัฒน์ สถาอานันท์ เขียนถึงงานศึกษาเรื่องสันติวิธีของปรีดี พนมยงค์เรื่องพระเจ้าช้างเผือก โดยสุรัยยา (เบ็ญโส๊ะ) สุไลมาน ว่าไปไกลกว่าเรื่อง “ความเป็นจริงในประวัติศาสตร์” อย่างสงครามยุทธหัตถีคือมีทฤษฎีสันติภาพและสันติวิธีเข้ากับวิธีการศึกษาในสาขาวรรณคดีเปรียบเทียบ
แนวคิด-ปรัชญา
2
กรกฎาคม
2567
สิ่งสำคัญสำหรับการต่อสู้เพื่อประชาธิปไตยคือเป้าหมายร่วม ซึ่งเกิดจากจินตนาการและความเชื่อว่าประเทศนี้เป็นของประชาชน ดังนั้น แม้จะมีวิธีการและจุดยืนที่ต่างกัน แต่หากมีจินตนาการ ความเชื่อ และเป้าหมายเดียวกันก็จะสามารถขับเคลื่อนสู่ชัยชนะได้
แนวคิด-ปรัชญา
1
กรกฎาคม
2567
บทความนี้เสนอหลักการของนิติธรรม (Rule of law) ผ่านการประเมินตามดัชนีหลักนิติธรรม (Rule of law index) พ.ศ. 2565 จากจำนวน 142 ประเทศ โดยประเทศไทยมีคะแนนต่ำกว่าค่าเฉลี่ย และชี้ให้เห็นกรณีศึกษาจากสถิติข้อมูลผู้ต้องขังทั่วไปและคดีการเมือง พ.ศ. 2563-2567
แนวคิด-ปรัชญา
1
กรกฎาคม
2567
อธึกกิต แสวงสุข เสนอบทเรียนประวัติศาสตร์การเคลื่อนไหวของประชาชนจาก ปี 2475-2563 และชี้ให้เห็นมุมมองและความคาดหวังต่อระบอบการปกครองที่แตกต่างกันของฝ่ายอนุรักษนิยมและฝ่ายประชาธิปไตย รวมทั้งวิเคราะห์การเคลื่อนไหวของคนรุ่นใหม่หลังปี 2563
ชีวิต-ครอบครัว
30
มิถุนายน
2567
บทความนี้เสนอเกร็ดประวัติศาสตร์เกี่ยวกับนายปรีดี พนมยงค์ และอนุสาร อ.ส.ท. โดยผู้เขียนนำเสนอข้อมูลใหม่ว่าก่อนหน้าที่นายปรีดีจะถึงแก่อสัญกรรมในวันที่ 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2526 เพียงไม่นานได้มีผู้นำ อนุสาร อ.ส.ท. ฉบับประจำเดือนเมษายน พ.ศ. 2526 ฉบับแนะนำจังหวัดพระนครศรีอยุธยามาให้ และนายปรีดีอ่านอย่างละเอียด
แนวคิด-ปรัชญา
30
มิถุนายน
2567
นิธินันท์ ยอแสงรัตน์ เสนอเรื่องบทเรียนประชาธิปไตยที่ได้จากอดีตถึงปัจจุบันในประการสำคัญคือ เราต้องลงมือทำในสิ่งที่ต้องการโดยมองว่าการสร้างประชาธิปไตยที่ดีคือ การสร้างความคิดที่ยอมรับความเห็นต่าง เคารพผู้อื่น ที่สำคัญคือ ควรมองที่ผลประโยชน์ของประชาชนเป็นหลัก
Subscribe to บทความ