ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

บทความ

บทความ เว็บไซต์สถาบันปรีดี พนมยงค์ PRIDI BANOMYONG INSTITUTE

แนวคิด-ปรัชญา
22
ธันวาคม
2566
‘นิกร จำนง’ ได้กล่าวประเด็นถึงอีกก้าวสำคัญของการร่างรัฐธรรมนูญที่เปรียบเสมือนระบบปฏิบัติการ ที่จะต้องขับเคลื่อนประเทศชาติ ปรับโครงสร้างของชาติให้มั่นคง อีกทั้งยังทำหน้าที่ปรับแก้รัฐธรรมนูญอย่างต่อเนื่อง ในการประเทศชาติต้องมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา
แนวคิด-ปรัชญา
21
ธันวาคม
2566
‘รศ.ดร.นันทนา นันทวโรภาส’ เปิดประเด็นหลักการสำคัญและข้อเสนอในการเลือกตั้งสภาร่างรัฐธรรมนูญ ที่มีการเชื่อมโยงกับประชาชน ปราศจากการครอบงำของอำนาจที่ไม่ชอบธรรม ซึ่งเป็นการได้มาของรัฐธรรมนูญฉบับประชาชนอย่างแท้จริง
บทสัมภาษณ์
20
ธันวาคม
2566
PRIDI Interview : เลือกตั้งกรรมการประกันสังคม อนาคตรัฐสวัสดิการไทย รองศาสตราจารย์ ดร.ษัษฐรัมย์ ธรรมบุษดี ตัวแทนจากทีมประกันสังคมก้าวหน้าถึงความสำคัญของการเลือกตั้งกรรมการประกันสังคมและกองทุนประกันสังคมมูลค่ากว่า 2.3 ล้านล้านบาท
แนวคิด-ปรัชญา
19
ธันวาคม
2566
ผศ.ดร.พรสันต์ เลี้ยงบุญเลิศชัย’ เปิดประเด็นถึง รัฐธรรมนูญฉบับ ปี 2560 พบปัญหาอยู่เยอะพอสมควร เริ่มต้นมีการใช้เทคนิคในการร่างที่ซับซ้อน เป็นผลพวงของการผนวกรวมกับรัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราว ปี 2557
แนวคิด-ปรัชญา
18
ธันวาคม
2566
‘รศ.ดร.มุนินทร์ พงศาปาน’ กล่าวถึง เหตุที่รัฐธรรมนูญปี 2560 จึงสมควรเป็นโมฆะ โดยกล่าวถึง ลักษณะที่แปลกประหลาดของรัฐธรรมนูญ 2560 และมุมมองของผู้ปกครองที่มีต่อประชาชนโดยมีรัฐธรรมนูญเป็นเครื่องมือ
แนวคิด-ปรัชญา
17
ธันวาคม
2566
'รศ.ดร.อนุสรณ์ ธรรมใจ' กล่าวเปิดเสวนาด้วยคำถามสำคัญที่ว่า ทำไมต้องมีรัฐธรรมนูญของประชาชน? ก่อนจะกล่าวถึงปัญหา 3 ประการจากรัฐธรรมนูญปี 2560 และความสำคัญของการร่างรัฐธรรมนูญฉบับประชาชนใหม่
แนวคิด-ปรัชญา
16
ธันวาคม
2566
สรุปสาระสำคัญภายในงาน“ เลือกตั้งคณะกรรมการประกันสังคม ปฏิรูปอะไร? อย่างไร?” เมื่ออังคารที่ 12 ธันวาคม 2566 ณ ห้องประชุมประภาศน์ อวยชัย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์
แนวคิด-ปรัชญา
14
ธันวาคม
2566
สรุปประเด็นเสวนา PRIDI TALKS #23 x PBIC : รื้อ ร่าง สร้าง รัฐธรรมนูญใหม่เพื่อประชาชน“สถาบันปรีดี พนมยงค์” ร่วมกับ “วิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์”
เกร็ดประวัติศาสตร์
12
ธันวาคม
2566
อาชญาสิทธิ์ ศรีสุวรรณ ร้อยเรียงเรื่องราวขยายภาพความสัมพันธ์ของปาล พนมยงค์ที่มีต่อมิตรสหายอย่าง ‘เยื้อน พานิชวิทย์’ และ 'สัมผัส พึ่งประดิษฐ์' จากบันทึกทางประวัติศาสตร์และบทสัมภาษณ์กับสัมผัส พึ่งประดิษฐ์
แนวคิด-ปรัชญา
10
ธันวาคม
2566
นำเสนอเรื่องราวตลอดชีวิตของปรีดี พนมยงค์ ที่ได้รับการหล่อหลอมและการก่อร่างความคิดทางการเมืองของปรีดี พนมยงค์ที่ถ่ายทอดออกมาในรัฐธรรมนูญที่ปรีดี พนมยงค์มีส่วนสำคัญในการร่างออกมาทั้ง 3 ฉบับตั้งแต่อภิวัฒน์ 2475
Subscribe to บทความ