ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

บทความ

บทความ เว็บไซต์สถาบันปรีดี พนมยงค์ PRIDI BANOMYONG INSTITUTE

เกร็ดประวัติศาสตร์
1
มีนาคม
2568
บทความนี้โต้แย้งแนวคิดที่ว่าไทยรอดจากการเป็นผู้แพ้ในสงครามโลกครั้งที่ 2 ด้วยความบังเอิญ โดยเน้นบทบาทของขบวนการเสรีไทยและยุทธศาสตร์ทางการทูตของปรีดี พนมยงค์ ที่ช่วยให้ไทยไม่ตกเป็นประเทศผู้แพ้สงคราม
แนวคิด-ปรัชญา
1
มีนาคม
2568
กุหลาบ สายประดิษฐ์ ได้เล่าเรื่องอุปมาว่าด้วยความไม่สมเหตุสมผลของระบบศักดินา ที่มนุษย์กลุ่มนึงสมอ้างว่าตัวเองเป็นเทพยดา แล้วควบคุม กดขี่ มนุษย์กลุ่มอื่นๆ เสมือนว่าพวกเขา “กินแกลบ”
ศิลปะ-วัฒนธรรม
28
กุมภาพันธ์
2568
ความรักควรไปตาย (to hell with love!) เป็นละครเวทีไทยที่ดัดแปลงจาก "Private Lives" ของ Noël Coward สำรวจความสัมพันธ์ยุคใหม่ และมีการจัดวางฉากแบบร่วมสมัยภายใต้แนวคิดในการนำบทละครคลาสสิกมาตีความใหม่
เกร็ดประวัติศาสตร์
28
กุมภาพันธ์
2568
ภายหลังการพ่ายแพ้ของขบวนการประชาธิปไตย 26 กุมภาพันธ์ 2492 ซึ่งนำโดยนายปรีดี พนมยงค์ ที่มีจุดมุ่งหมายเพื่อกอบกู้ประชาธิปไตยจากรัฐบาลเผด็จการทหาร ส่วนความคิดเห็นจากข้าราชการพบว่าส่วนใหญ่เห็นด้วยกับการปราบปรามครั้งนี้
เกร็ดประวัติศาสตร์
27
กุมภาพันธ์
2568
การแทรกซึมของโผน อินทรทัต เป็นวิธีการทางทหารที่ขบวนการเสรีไทยจะพอที่จะทำได้ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ที่ประเทศไทยอยู่ภายใต้การปกครองของญี่ปุ่น การแทรกซึมจึงต้องใช้ความกล้าหาญและยุทธศาสตร์ในการฝ่าฟันอุปสรรคเพื่อต่อต้านกองทัพญี่ปุ่น
เกร็ดประวัติศาสตร์
26
กุมภาพันธ์
2568
ในวาระ 76 ปี ขบวนการประชาธิปไตย 26 กุมภาพันธ์ 2492 เสนอเรื่องหนังสืออนุสรณ์งานศพของหลวงสังวรยุทธกิจซึ่งเป็นหลักฐานประวัติศาสตร์สำคัญที่สะท้อนบทบาทของทหารเรือในการอภิวัฒน์ ขบวนการเสรีไทยจนถึงหลังสงครามโลก ครั้งที่ 2
แนวคิด-ปรัชญา
25
กุมภาพันธ์
2568
ทองเปลว ชลภูมิ์ ตั้งคำถามทางเศรษฐศาสตร์ใน พ.ศ. 2484 ว่าความมั่งคั่งควรเป็นของรัฐบาลหรือเอกชน จากวิวัฒนาการทางเศรษฐศาสตร์แสดงให้เห็นว่าความร่ำรวยของรัฐไม่ได้สะท้อนถึงความมั่งคั่งของประชาชนเสมอไป
แนวคิด-ปรัชญา
25
กุมภาพันธ์
2568
การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจไทยที่ยั่งยินจะเกิดขึ้นได้ ด้วยการมีการกระจายรายได้ ลดความเหลื่อมล้ำ ซึ่งจุดเริ่มต้นสำคัญ คือ ระบบประกันสังคมที่เข้มแข็ง ปราศจากคอร์รัปชั่น และบริหารด้วยผู้ที่มีความเชี่ยวชาญอย่างแท้จริง
วันนี้ในอดีต
24
กุมภาพันธ์
2568
ชีวประวัติและบทบาททางสังคมการเมืองของแช่ม พรหมยงค์ สมาชิกคณะราษฎร เป็นจุฬาราชมนตรีสายซุนนีคนแรกของไทย เป็นสมาชิกเสรีไทย และส่งเสริมความสมานฉันท์ระหว่างศาสนา และสะท้อนความสัมพันธ์อันดีกับนายปรีดี พนมยงค์
เกร็ดประวัติศาสตร์
24
กุมภาพันธ์
2568
ปัญหาการแบ่งแยกดินแดนในสามจังหวัดชายแดนใต้ของไทย ได้แก่ ปัตตานี ยะลา และนราธิวาส มีสาเหตุจากปัจจัยทางประวัติศาสตร์ และบทบาทของมาเลเซียรวมถึงนโยบายของรัฐที่ผิดพลาดและการละเลยการพัฒนาทำให้ปัญหายังคงอยู่
Subscribe to บทความ