ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

บทความ

บทความ เว็บไซต์สถาบันปรีดี พนมยงค์ PRIDI BANOMYONG INSTITUTE

เกร็ดประวัติศาสตร์
25
กุมภาพันธ์
2566
การเดินทางของโฮจิมินห์ กับการปฏิบัติภารกิจในสยาม เมื่อโฮจิมินห์ถึงที่หมายอย่างปลอดภัย หลังจากนั้นเขาได้เดินทางต่อขึ้นมายังทางภาคเหนือและอีสานจนได้พบปะกับชาวเวียดนามโพ้นทะเล พร้อมทั้งทำงานเผยแพร่ความคิดเพื่อกอบกู้เอกราชและภารกิจจากองค์กรคอมมิวนิสต์สากล
เกร็ดประวัติศาสตร์
24
กุมภาพันธ์
2566
กล้า สมุทวณิช เขียนถึงผลสืบเนื่องจากการรัฐประหาร 2534 ต่อประเด็นที่มาของตำแหน่งนายกรัฐมนตรีตามรัฐธรรมนูญไทย วิกฤติทางการเมืองในคราวนั้นถือเป็นฟางเส้นสุดท้ายที่ทำให้ประชาชนได้ตระหนักถึงคุณค่าความยึดโยงของตำแหน่งดังกล่าวต่อประชาชน จนนำไปสู่การสะสางปัญหาที่ยืดเยื้อซึ่งกินเวลายาวนานนับตั้งแต่ยุค 2500
แนวคิด-ปรัชญา
23
กุมภาพันธ์
2566
สุรชาติ บำรุงสุข ชวนค้นหานิยามของการรัฐประหาร พร้อมสำรวจปัจจัยรอบด้านที่มีอิทธิพล อันนำไปสู่การเปิดโอกาสให้เหล่านักรัฐประหารมักใช้เป็นข้ออ้างและเครื่องมือในภารกิจเข้าแทรกแซงทางการเมือง นอกจากนี้ยังชี้ให้เห็นว่าองคาพยพสำคัญใดบ้างที่จำแลงกายเป็นสะพานหรือแขนขาให้แก่ทรราชขับรถถังออกมาแย่งชิงอำนาจของประชาชน
ศิลปะ-วัฒนธรรม
22
กุมภาพันธ์
2566
กวินพร เจริญศรี ชวนท่องไปกับท่องไปกับละครเวที "สมปรารถนา Whatever you'd like" กับเรื่องราวการไขว่คว้าความฝันและเอาตัวรอด มุ่งหน้าหาทางออกและเข้าร่วมการแข่งขันเกมที่จะพลิกชะตาชีวิตซึ่งมีรางวัลเดิมพันระหว่าง เงินจำนวนมหาศาล หรือ การเปิดโอกาสให้ผู้ชนะเลือกเดินจากไปมีชีวิตใหม่ในดินแดนอื่นตามที่ใจปรารถนา
แนวคิด-ปรัชญา
21
กุมภาพันธ์
2566
เอกชัย ไชยนุวัติ ชวนสำรวจนิยามของประชาธิปไตย รวมไปถึงหนทางสำหรับการต่อต้านระบอบเผด็จการ ผ่านการสถาปนาอำนาจอธิปไตย กล่าวคือ ฝ่ายนิติบัญญัติ ฝ่ายบริหาร และ ฝ่ายตุลาการ อันมีหัวใจสำคัญที่ยึดโยงกับประชาชน ในฐานะเจ้าของอำนาจ ด้วยหลักการห่วงโซ่แห่งความชอบธรรม
แนวคิด-ปรัชญา
20
กุมภาพันธ์
2566
ในบทความนี้ ชวนผู้อ่านร่วมค้นหาคำตอบของคำถามที่ว่า "ทำไมแนวทางสันติวิธีจึงเป็นสิ่งสำคัญในสนามการเมือง" โดยพิจารณาจากบทเรียนทางการเมืองและแนวทาง "สันติวิธี" (Nonviolent Action) ในฐานะเครื่องมือเพื่อโค่นล้มนักเผด็จการทั้งหลายที่กดขี่ข่มเหงประชาชน
บทบาท-ผลงาน
19
กุมภาพันธ์
2566
อาชญาสิทธิ์ ศรีสุวรรณ ชวนย้อนไปสู่การประชุมสภาผู้แทนราษฎร ครั้งที่ 5/2481 (สามัญ) สมัยที่ 2 ชุดที่ 3 ซึ่งปรากฏการตั้งกระทู้ถามตอบในกรณีการขายเงินเหรียญบาทออกนอกประเทศ ของ นายปรีดี พนมยงค์ ในฐานะรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
เกร็ดประวัติศาสตร์
18
กุมภาพันธ์
2566
โฮจิมินห์กับชีวิตในสหภาพโซเวียต เขาอุทิศเวลาส่วนใหญ่ไปกับการศึกษาหาความรู้ทางทฤษฎีมาร์กซ์-เลนิน เมื่อได้เข้าทำงานที่องค์กรคอมมิวนิสต์สากล (Communist International / Comintern) โฮจิมินห์มีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนและถกปัญหาต่อประเด็นต่างๆ อยู่ตลอดเวลา
เกร็ดประวัติศาสตร์
17
กุมภาพันธ์
2566
ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ ได้บรรยายความรู้สึกเมื่อครั้งเข้าร่วมการพิจารณาคดีสวรรคต ณ ศาลอาญา ในปี พ.ศ. 2491 โดยบอกเล่าสิ่งที่ตนสัมผัสได้จากทั้งสามจำเลย คือ ความสุขุม ความสงบ และความไม่หวั่นเกรงภัยใดๆ เพราะทั้งสามนั้นเชื่อมั่นในความยุติธรรมและความบริสุทธิ์ของตนเองอย่างแน่นหนัก
บทบาท-ผลงาน
16
กุมภาพันธ์
2566
แนวคิดการขุด "คอคอดกระ" หรือที่ประชาชนชาวไทยในปัจจุบันรู้จักในนาม "คลองไทย" ของ 'นายปรีดี พนมยงค์' เมื่อครั้งรั้งดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ในรัฐบาลพระยาพหลพลพยุหเสนา เมื่อปี พ.ศ. 2478 โดยผู้เขียนยังได้ยกเอาข้อเขียนของนายปรีดีซึ่งแสดงทัศนะต่อการขุดคลองคอคอดกระไว้ในต้นทศวรรษ 2500
Subscribe to บทความ