ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

บทความ

บทความ เว็บไซต์สถาบันปรีดี พนมยงค์ PRIDI BANOMYONG INSTITUTE

แนวคิด-ปรัชญา
19
พฤษภาคม
2566
อำนาจของเทคโนโลยีข้อมูลข่าวสารที่ประชาชนทุกคนสามารถนำอำนาจเหล่านี้ มาใช้เป็นเครื่องมือเพื่อตรวจสอบ ส่งเสียงเรียกร้องในสิทธิที่ประชาชนทุกคนพึงมี พร้อมทั้งวิพากษ์วิจารณ์การกระทำที่ไม่เหมาะสมของรัฐบาล เพื่อสร้างสังคมที่มีความเป็นประชาธิปไตย ความเที่ยงธรรม และมีดุลยภาพแห่งอำนาจมากยิ่งขึ้น
แนวคิด-ปรัชญา
18
พฤษภาคม
2566
ความหวังและความฝันของคนหนุ่มสาวในการเปลี่ยนผ่านสังคมไปสู่ระบอบประชาธิปไตยที่แท้จริง ผ่านการเคลื่อนไหวและการต่อสู้ของภาคประชาชนนับตั้งแต่ปี 2563 เป็นต้นมา เพื่อตั้งคำถามต่อโครงสร้างทางการเมืองที่ไม่เป็นธรรม และสร้างพื้นที่สาธารณะให้แก่ผู้คนซึ่งมีความคิดเห็นที่แตกต่างกันภายในสังคมสามารถอยู่ร่วมกันได้
เกร็ดประวัติศาสตร์
17
พฤษภาคม
2566
ทบทวนประวัติศาสตร์ความเคลื่อนไหวภาคประชาชน และการเรียกร้องเพื่อยุติการสืบทอดของอำนาจนอกระบบจากเหตุการณ์ "พฤษภาประชาธรรม" พร้อมทั้งทัศนะของนายปรีดี พนมยงค์ ที่แสดงไว้ต่อประเด็นการต่อต้านระบอบเผด็จการและระบอบอำนาจนิยม
แนวคิด-ปรัชญา
17
พฤษภาคม
2566
ความท้าทายทางอุดมการณ์ทางการเมือง เพื่อสร้างดุลยภาพแห่งอำนาจให้เกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรมในระบอบประชาธิปไตย ความพยายามในการสร้างระบอบประชาธิปไตยขึ้นผ่านการเลือกตั้ง จึงเป็นการเปลี่ยนผ่านภูมิทัศน์ทางการเมืองจากอำนาจในระบอบเก่า ไปสู่การเมืองใหม่ของประชาชน
แนวคิด-ปรัชญา
16
พฤษภาคม
2566
การคัดง้างระหว่างอำนาจที่สำคัญต่อปัจจัยในการวางรากฐานประชาธิปไตยของสังคมไทยเมื่อครั้งการอภิวัฒน์สยาม 2475 ได้แก่ อำนาจทางกองทัพ และอำนาจตามประเพณีซึ่งเป็นมรดกตกค้างจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์
ศิลปะ-วัฒนธรรม
15
พฤษภาคม
2566
เส้นทางการต่อสู้ของภาพยนตร์ไทยที่ต้องเผชิญ ไม่ว่าจะเป็นเสรีภาพในการแสดงออกเพื่อสร้างสรรค์ผลงาน ข้อกำหนดกฎหมาย ขั้นตอนการพิจารณาความเหมาะสม (rating) ฯลฯ สิ่งเหล่านี้ล้วนส่งผลต่อการผลิตผลงานในนามของศิลปะที่ถ่ายทอดความคิดและสื่อสารต่อผู้ชมเป็นไปอย่างมีข้อจำกัด
บทบาท-ผลงาน
14
พฤษภาคม
2566
ประมวลฐานความคิดของนายปรีดี พนมยงค์ ที่มีต่อการเลือกตั้งผู้แทนราษฎร นับตั้งแต่วัยเยาว์ ไปจนถึงการอภิวัฒน์สยาม 2475 ก่อร่างสร้างประชาธิปไตยและรัฐธรรมนูญ อีกทั้งรัฐธรรมนูญฉบับ 2489 ซึ่งกำหนดหลักการผู้เกี่ยวข้องทางการเมืองไว้อย่างเป็นธรรม รวมไปถึงวิธีส่งเสริมให้ราษฎรสนใจประชาธิปไตย ซึ่งปรากฏในจดหมายถึง ฯพณฯ สัญญา ธรรมศักดิ์ นายกรัฐมนตรี
บทบาท-ผลงาน
13
พฤษภาคม
2566
ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.ปรีชา สุวรรณทัต อภิปรายและแสดงทัศนะต่อนายปรีดี พนมยงค์ ในฐานะผู้พลิกความคิดของสังคมไทย ไว้ ณ เรือนไทยหอประชุมภายในเขตอนุสรณ์สถานปรีดี พนมยงค์ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เมื่อครั้งอัญเชิญอัฐิธาตุของ 'นายปรีดี พนมยงค์' กลับสู่มาตุภูมิ เมื่อวันที่ 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2529
แนวคิด-ปรัชญา
13
พฤษภาคม
2566
“Electoral Justice: International IDEA Handbook” นำเสนอระบบความเที่ยงธรรมในการเลือกตั้งที่มีประสิทธิผล การยื่นและยุติการคัดค้านในการเลือกตั้งรวมทั้งการหยิบยกวิธีการต่างๆ ที่จะป้องกันข้อพิพาทและส่งเสริมสิทธิการเลือกตั้ง
บทบาท-ผลงาน
12
พฤษภาคม
2566
ธรรมเกียรติ กันอริ อภิปรายทรรศนะแห่งประชาธิปไตยของ 'นายปรีดี พนมยงค์' ไว้ ณ เรือนไทยหอประชุมภายในเขตอนุสรณ์สถานปรีดี พนมยงค์ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เมื่อครั้งอัญเชิญอัฐิธาตุของ 'นายปรีดี พนมยงค์' กลับสู่มาตุภูมิ เมื่อวันที่ 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2529
Subscribe to บทความ