ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

บทความ

บทความ เว็บไซต์สถาบันปรีดี พนมยงค์ PRIDI BANOMYONG INSTITUTE

แนวคิด-ปรัชญา
7
มีนาคม
2566
คำอธิบายชุดความคิดและหัวใจทางการเมืองของ 'ศ.ดร.ป๋วย อึ๊งภากรณ์' ด้วยหลัก "สันติประชาธรรม" ซึ่งเน้นย้ำถึงความสำคัญของสันติวิธีเพื่อให้ถึงพร้อมด้วยประชาธรรมของผู้คน ผ่านการวิเคราะห์แตกย่อยอุดมคติทางการเมืองและความปรารถนาที่ ศ.ดร.ป๋วยต้องการให้บังเกิดขึ้นและไหลเวียนภายในสังคมไทย
ศิลปะ-วัฒนธรรม
6
มีนาคม
2566
"เธอกับฉันกับฉัน" (YOU & Me & ME) บอกเล่าเรื่องราวชีวิตของหนุ่มสาวในวัยเริ่มแรกแย้มผลิบาน กับชีวิตที่อ่อนขวบปีซึ่งต้องเผชิญหน้ากับความสับสนในชีวิตที่ถาโถม ระหว่างความรัก สายสัมพันธ์ของพี่น้อง และรอยแตกร้าวภายในครอบครัว
เกร็ดประวัติศาสตร์
5
มีนาคม
2566
การผนึกกำลังของพรรคคอมมิวนิสต์เวียดนามซึ่งมีแนวทางแตกต่างกันเข้ารวมเป็นหนึ่งเดียว ณ เกาะฮ่องกง เมื่อถูกทางการอังกฤษจับกุม ในขณะตกที่นั่งลำบากนี้เอง "มิสเตอร์แฟรงค์ ลูสบีย์" ทนายความสัญชาติอังกฤษจึงได้เสนอตัวช่วยเหลือในการต่อสู้ทางการศาลให้แก่โฮจิมินห์
เกร็ดประวัติศาสตร์
4
มีนาคม
2566
คำพิพากษาศาลฎีกาในคดีสังหารอดีต 4 รัฐมนตรี เนื่องในวาระ 74 ปีสังหารโหด ณ ทุ่งบางเขน ซึ่งบอกเล่าปากคำ คำให้การ รวมไปถึงลำดับเหตุการณ์ในการสังหารเหยื่อทั้ง 4 รายอย่างทารุณ เมื่อคดีเข้าสู่กระบวนการยุติธรรม
บทบาท-ผลงาน
3
มีนาคม
2566
เรื่องราวการลบล้างมลทินที่มัวหมองให้แก่ "พี่ๆ" คณะ ร.ศ. 130 โดย "คณะราษฎร" ภายหลังสยามก้าวเข้าสู่ระบอบประชาธิปไตยได้สำเร็จ ดังปรากฏในหลักฐานการประชุมสภาผู้แทนราษฎร ครั้งที่ 45 (สมัยสามัญ) ซึ่งนำไปสู่การประกาศ พรบ.ล้างมลทินผู้กระทำความผิดทางการเมือง ร.ศ. 130 เพื่อคืนความบริสุทธิ์และศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ให้แก่คณะ ร.ศ. 130 ในเวลาต่อมา
เกร็ดประวัติศาสตร์
2
มีนาคม
2566
วิบากกรรมทางการเมืองของ "คณะ ร.ศ. 130" เมื่อครั้งถูกล่ามโซ่ตีตรวนเสรีภาพในฐานะนักโทษทางความคิด พวกเขาต้องเผชิญการถูกกระทำในหลายรูปแบบ อาทิ การใช้แรงงานอย่างหนัก การถูกจองจำในห้องขังมืด ฯลฯ ตลอดระยะเวลาที่ต้องโทษทนทุกข์ทรมานล่วงเลยกว่า 12 ปี 6 เดือน กับอีก 6 วัน ในเรือนจำ ยังคงเป็นห้วงยามที่ลุกโชนไปด้วยความหวังดังเช่นเมื่อวัยหนุ่ม
เกร็ดประวัติศาสตร์
1
มีนาคม
2566
บันทึกร่วมของ ร.ต.เนตร พูนวิวัฒน์ และ ร.ต.เหรียญ ศรีจันทร์ ผู้เป็นสมาชิกของคณะ ร.ศ. 130 บอกเล่าความเชื่อมร้อยทางความคิดในความพยายามของการเปลี่ยนแปลงระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ไปสู่ระบอบประชาธิปไตย จากคณะ ร.ศ. 130 ถึง คณะราษฎรเมื่อครั้งการอภิวัฒน์สยาม 24 มิถุนายน 2475
แนวคิด-ปรัชญา
28
กุมภาพันธ์
2566
ภีรดา เขียนถึง การสร้างระบอบประชาธิปไตยให้ลงหลักปักฐานอย่างตั้งมั่น ผ่านแนวคิดสิทธิพิทักษ์รัฐธรรมนูญอันเป็นหลักการคุณค่าสูงสุดของระบอบประชาธิปไตยบนหน้าประวัติศาสตร์การเมืองไทย ท่ามกลางอุปสรรคการในการปกป้องระบอบประชาธิปไตยที่ต้องเผชิญกับการรัฐประหารด้วยอำนาจนอกระบบจากกลุ่มศักดินา
เกร็ดประวัติศาสตร์
27
กุมภาพันธ์
2566
อาชญาสิทธิ์ ศรีสุวรรณ บอกเล่าเรื่องภายหลังจาก "ขบวนการประชาธิปไตย 26 กุมภาพันธ์" ต้องประสบกับความล้มเหลว รวมไปถึงท่าทีของจอมพล ป. พิบูลสงคราม ซึ่งได้แสดงทรรศนะต่อนายปรีดี พนมยงค์ และสถานการณ์ทางการเมืองในขณะนั้น
เกร็ดประวัติศาสตร์
26
กุมภาพันธ์
2566
อ่านบันทึกประวัติศาสตร์ของขบวนการประชาธิปไตย 26 กุมภาพันธ์ ผ่านผ่านบันทึกความทรงจำของ 'นายปรีดี พนมยงค์' ซึ่งแสดงให้เห็นลำดับเหตุการณ์ก่อน-หลัง เหตุแห่งการเกิด และหลักฐานเชิงประจักษ์ อันนำไปสู่การตอบโต้รัฐประหาร 2490 และทวงคืนระบอบประชาธิปไตยสมบูรณ์ให้แก่สังคมไทย
Subscribe to บทความ