ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

บทความ

บทความ เว็บไซต์สถาบันปรีดี พนมยงค์ PRIDI BANOMYONG INSTITUTE

บทสัมภาษณ์
15
ตุลาคม
2566
การหายไปของอนุสาวรีย์ปราบกบฏและมรดกคณะราษฎรชิ้นอื่นๆ นั้น สะท้อนถึงนัยทางการเมืองของการรื้อถอนอดีต ความทรงจำชุดหนึ่งไม่เป็นที่ต้องการของภาครัฐหรือไม่ก็ไม่เป็นที่ต้องการของบุคคลใดบุคคลหนึ่ง
บทสัมภาษณ์
13
ตุลาคม
2566
จุดเปลี่ยนสำคัญของกรมราชทัณฑ์ เกิดขึ้นหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครองปี 2475 รัฐบาลคณะราษฎรได้ให้ความสำคัญกับการดูแลนักโทษมากขึ้น โดยนายปรีดี พนมยงค์ ได้นำเอาความรู้เกี่ยวกับอาชญาวิทยาและทัณฑวิทยาสมัยใหม่มาประยุกต์ใช้กับงานราชทัณฑ์
ศิลปะ-วัฒนธรรม
12
ตุลาคม
2566
ประวัติความเป็นมา บทสัมภาษณ์ และบทวิจารณ์ความเห็นที่มีต่อละครเพลง “WATERFALL A New Musical” รวมไปถึงบทส่งต่อถึงเยาวชนและผู้คนที่สนใจในโลกแห่งละครเวทีถึงวงการละครเวทีของไทยว่าจะพัฒนาและเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางใดได้บ้าง
แนวคิด-ปรัชญา
11
ตุลาคม
2566
ความหมายและความเข้าใจถึงคำว่า “เผด็จการ” ที่ปรากฏใช้ในสังคมไทยและทั่วโลกมีที่มา ความหมาย อย่างไรในเชิงนิรุกติศาสตร์หรือตามความหมายและการใช้คำที่ผันแปรไปตามสังคม พื้นที่/เวลา และรูปแบบของผู้ปกครองและระบอบที่ใช้ปกครอง
แนวคิด-ปรัชญา
10
ตุลาคม
2566
โลกในอุดมคติของอนุรักษนิยม สิ่งหนึ่งที่ฝั่งอนุรักษนิยมพยายามรักษาไว้คือ การรักษาสภาพสังคมที่สามารถควบคุม กำกับ และสอดส่อง ไม่ให้ผู้คนในสังคมเหล่านั้นเกิดคำถามที่นำไปสู่การเปลี่ยนแปลงในที่สุด
แนวคิด-ปรัชญา
9
ตุลาคม
2566
กล่าวถึงกฎหมาย กฎระเบียบ ขั้นตอน และแนวทางของราษฎรหรือประชาชนในการทูลเกล้าฯ ถวายฎีกาต่อพระมหากษัตริย์ รวมถึงลักษณะ บทบาท และขอบเขตที่พระองค์จะทรงวินิจฉัยด้วยตนเอง
ชีวิต-ครอบครัว
8
ตุลาคม
2566
บอกเล่าถึงดอกเหมยที่บานสะพรั่งอย่างงดงาม สื่อถึงความสดใสและความหวังของผู้คนที่เริ่มต้นในวันปีใหม่ โดยในคืนสุกดิบ ปลายได้มีโอกาสไปฉลองวันตรุษจีนกับครูจิ้นผู้เป็นอาจารย์ที่เมตตาและใจดี คอยดูแลเอาใจใส่ปลายมาโดยตลอด
แนวคิด-ปรัชญา
7
ตุลาคม
2566
การต่อต้านเผด็จการนั้นไม่ใช่เพียงการต่อสู้ทางกายภาพเท่านั้น หากแต่ยังเป็นการต่อสู้ทางความคิดและจิตวิญญาณด้วย ฝ่ายต่อต้านจึงต้องรู้จักฝ่ายเผด็จการอย่างถ่องแท้ทั้งในด้านดีและด้านร้าย
เกร็ดประวัติศาสตร์
6
ตุลาคม
2566
ศ.ดร.ชาญวิทย์ เกษตรศิริ กล่าวถึงเหตุการณ์ 6 ตุลาคม และปรากฏการณ์การเคลื่อนไหวผ่านการมองประวัติศาสตร์ช่วงยาวทั้งในบริบทสังคมไทยที่เกิดขึ้นและเชื่อมกับบริบทสังคมโลกเพื่อสะท้อนให้เห็นถึงปรากฏการณ์ของขบวนการนักศึกษาที่เกิดขึ้น
แนวคิด-ปรัชญา
5
ตุลาคม
2566
สมุฏฐาน เพื่ออธิบายถึงเหตุหรือที่มาของสรรพสิ่ง ความจริงที่มนุษย์รับรู้ ซึ่งประเด็นปัญหาสำคัญทางอภิปรัชญาว่าด้วยความจริงและการรับรู้ของมนุษย์ ความสัมพันธ์ระหว่างแนวคิดทั้งสองนี้ ข้อโต้แย้ง และข้อเข้าใจผิด รวมไปถึงแนวคิดทั้งสองนี้ที่สัมพันธ์อย่างไรเปรียบกับร่างกายมนุษย์
Subscribe to บทความ