บทความ
บทความ เว็บไซต์สถาบันปรีดี พนมยงค์ PRIDI BANOMYONG INSTITUTE
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
5
พฤศจิกายน
2565
นับตั้งแต่ต้นปี ค.ศ. 1965 เป็นต้นมา การแทรกแซงของอเมริกาเป็นไปอย่างเต็มรูปแบบ ด้วยการส่งทหารอเมริกันเข้ามาปฏิบัติการรบ และได้มีการแต่งตั้งให้พลเอก เวสต์ มัวร์แลนด์ เป็นผู้บัญชาการ สำหรับนายพลอเมริกันผู้นี้ก็ดูเหมือนไม่มีความสามารถอะไรเป็นพิเศษ นอกจากเรียกร้องให้ทางประธานาธิบดีส่งทหารเพิ่มเติมเข้ามาตลอดเวลา
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
4
พฤศจิกายน
2565
"จาก “ควบรวม” ถึง “ผูกขาด” ประเมินความเสี่ยงที่สังคมไทยต้องแบกรับ" โดยชวนให้พิจารณาถึงการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ในอุตสาหกรรมโทรคมนาคม คือ การผนวกรวมของสองกลุ่มทุนใหญ่เข้าด้วยกัน โดยผู้เขียนชี้ให้เห็นถึงสภาพการแข่งขันทางธุรกิจก่อนเกิดกรณีดังกล่าว ที่ฉายภาพการแข่งขันเสรีอย่างขับเคี่ยวโดยกลุ่มทุนต่างๆ ซึ่งเป็นไปตามกลไกตลาด
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
3
พฤศจิกายน
2565
3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2514 เป็นวันถึงแก่อสัญกรรมของ ทวี บุณยเกตุ นายกรัฐมนตรีคนที่ 5 ของไทย บทบาททางการเมืองของทวีมีมากกว่าการเป็นนายกรัฐมนตรีเพียง 17 วันดังที่กล่าวถึงกันอย่างแพร่หลาย
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
1
พฤศจิกายน
2565
หน้าที่ประการแรกและเป็นประการสำคัญที่สุดของรัฐธรรมนูญ คือการเป็น “บทบัญญัติแห่งการจัดตั้งรัฐ” ดังนั้น ในมาตราแรกๆ ของรัฐธรรมนูญ มักจะกำหนดรูปแบบของรัฐ และกล่าวอ้างถึงที่มาแห่ง “อำนาจสูงสุด” ของประเทศนั้น
บทความ • ชีวิต-ครอบครัว
31
ตุลาคม
2565
ย้อนอ่านธรรมกถา โดย "พระไพศาล วิสาโล" ที่แสดงไว้เมื่อครั้งงานประชุมเพลิง นางวาณี พนมยงค์ สายประดิษฐ์ โดยมีใจความเกี่ยวกับสัจธรรมของชีวิตอันได้แก่ "ความไม่เที่ยงของชีวิต"
บทความ • ชีวิต-ครอบครัว
29
ตุลาคม
2565
คุณศุขปรีดา พนมยงค์ เป็นหัวหน้าพาคณะมิตรสหายไปเยี่ยมเยือนและคารวะผู้อาวุโส ยังประเทศสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนามหลายครั้ง ผมมีโอกาสติดตามไป 2 ครั้ง เมื่อปี พ.ศ. 2544 และ พ.ศ. 2548 ตามลำดับ
จากนั้น คุณศุขปรีดาลงมือเขียนประวัติท่านโฮจิมินห์ ส่งไปลงพิมพ์เป็นตอนๆ ในนิตยสารมติชนสุดสัปดาห์ เมื่อต้นปี พ.ศ. 2549 และรวมพิมพ์เล่มครั้งแรก โดยสำนักพิมพ์มิ่งมิตร — บริษัทชนนิยม จำกัด เมื่อเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2549 ในชื่อเล่มที่คุณขรรค์ชัย บุนปาน ประธานเครือบริษัทมติชน จำกัด เป็นผู้ตั้งให้ “โฮจิมินห์ เทพเจ้าผู้ยังมีลมหายใจ”
บทความ • ศิลปะ-วัฒนธรรม
28
ตุลาคม
2565
ฯลฯ ถ้าขาดโดม.....เจ้าพระยา.....ท่าพระจันทร์.....ก็ขาดสัญญลักษณ์[1]พิทักษ์ธรรม
(บทกลอนของ เปลื้อง วรรณศรี สนับสนุนนักศึกษา มธก. คัดค้านอำนาจเผด็จการ หลัง 8 พ.ย. 2490)
“โดม” คือท่านปรีดี พนมยงค์
สูงส่ง, ฉลาด, ชาญ, หาญกล้า
ท่านอุทิศทุกอย่างตลอดมา
เพื่อชาติเพื่อประชาชาวไทย.
ลูก (คุณปาล) เมีย (ท่านผู้หญิงพูนศุข) ติดคุกติดตะราง
ท่านต้องนิราศร้างภัยใหญ่
สามสิบกว่าปีที่จากไป
ดวงใจท่านมิได้เปลี่ยนแปลง
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
27
ตุลาคม
2565
รากฐานรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 ที่ได้รับการขนานนามว่า "รัฐธรรมนูญฉบับประชาชน" โดยถือกำเนิดขึ้นด้วยผลสืบเนื่องจากฉันทามติของประชาชนในสังคมเพื่อแก้ระบบและกลไกการเมืองที่เคยถูกแทรกแซงโดยกองทัพ
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
Subscribe to บทความ
26
ตุลาคม
2565
สำรวจการต่อสู้ทางชนชั้นของผู้ถูกกดขี่ภายใต้แรงกดดันจากชนชั้นปกครอง ซึ่งแม้การกดปราบผู้เห็นต่างจะเป็นไปอย่างเข้มข้นจนเป็นอุปสรรคต่อการเคลื่อนไหวของภาคประชาชน ทว่า การขัดขืนของผู้กดขี่มิได้ยุติลงเพียงเท่านั้น แต่ได้ปรับกระบวนทัศน์กลายเป็น "เรื่องเล่าหลังม่าน" ที่เปิดเปลือยความโหดร้ายของชนชั้นผู้ปกครองอย่างแยบยล