บทความ
บทความ เว็บไซต์สถาบันปรีดี พนมยงค์ PRIDI BANOMYONG INSTITUTE
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
22
มิถุนายน
2565
‘ปรีดี พนมยงค์’ เป็นผู้เสนอให้เรียกการเปลี่ยนแปลงการปกครองเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 ว่า “อภิวัฒน์” ซึ่งมาจากคำว่า “อภิ” หมายถึง ยิ่ง วิเศษ เหนือ กับคำว่า “วัฒน์” หมายถึง ความเจริญ ความงอกงาม
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
19
มิถุนายน
2565
การที่โฮจิมินห์และพรรคมอบหมายให้หวอเหงียนย้าปรับผิดชอบในด้านการทหาร ซึ่งก็คือ การจัดตั้งกองกำลังติดอาวุธในการต่อสู้เพื่อกู้เอกราช อันสืบเนื่องมาจากการจัดตั้ง “แนวร่วมเวียดมินห์” (VIET NAM DOC LAP DONG MINH HOI) เมื่อวันที่ 19 พฤษภาคม 1941 ช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 จากการประชุมสมัชชาครั้งที่ 8 ของพรรคคอมมิวนิสต์อินโดจีน ณ ฐานที่มั่นภาคตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศ ตรงกับวันคล้ายวันเกิดของโฮจิมินห์พอดี
บทความ • บทบาท-ผลงาน
17
มิถุนายน
2565
ในวาระ 90 ปี การอภิวัฒน์สยาม 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 ยังมีเรื่องราวของคณะราษฎรในแง่มุมใหม่จากหลักฐานประวัติศาสตร์ ทั้งการตื่นขึ้นทางความคิดของราษฎรสามัญ การผลิตซ้ำแนวคิดของคณะราษฎรในเยาวชนคนหนุ่มสาว หรือ เยาวรุ่นอย่างต่อเนื่อง
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
16
มิถุนายน
2565
ณ ย่ำรุ่งของวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 เกิดการอภิวัฒน์สยามโดยคณะราษฎร พระยาพหลพลพยุหเสนา อ่านแถลงการณ์คณะราษฎรฉบับแรก ณ ลานพระบรมรูปทรงม้า
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
15
มิถุนายน
2565
การขับเคลื่อนเพื่อรับรองการ “สมรสเท่าเทียม” ในประเทศไทยไม่ใช่เรื่องใหม่ แต่เป็นกระบวนการที่ดำเนินมาอย่างต่อเนื่องเป็นเวลาประมาณเกือบ 10 ปี
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
14
มิถุนายน
2565
การทำนาเป็นรากฐานสำคัญที่สุดของเศรษฐกิจสังคมสยาม ตลอดระยะเวลาของประวัติศาสตร์อันยาวนาน การปลูกข้าวเพื่อส่งออกและการค้าภายในเป็นกิจกรรมหลักทางเศรษฐกิจ โดยในช่วงต้นของ พ.ศ. 2400 สินค้าส่งออกทางการเกษตรมีสัดส่วนถึง 80 เปอร์เซ็นต์ของมูลค่าการส่งออกทั้งหมด สังคมเกษตรกรรมช่วงรัตนโกสินทร์ตอนต้นจึงต่อเนื่องยาวนานจนถึง พ.ศ. 2490
สังคมภาคเกษตรในช่วงต้นรัตนโกสินทร์ ถือเป็นสังคมที่ประกอบไปด้วยชาวนาอิสระจำนวนมาก และชาวนาเหล่านี้ก็สามารถจับจองพื้นที่ในการเพาะปลูกได้ สังคมในลักษณะดังกล่าวสะท้อนถึงวัฒนธรรมแห่งการพึ่งตนเอง ให้คุณค่ากับความเสมอภาค และยึดถือประเพณีช่วยเหลือเกื้อกูลกัน
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
13
มิถุนายน
2565
บนหน้าประวัติศาสตร์ความเหลื่อมล้ำของไทย เลี่ยงไม่ได้ที่ต้องพิจารณาการถือครองที่ดิน เพราะเป็นปัจจัยการผลิตที่สำคัญ
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
12
มิถุนายน
2565
“ความคิดเห็นไม่ตรงกัน การพนันจึงเกิดขึ้น”
นั่นคือคำกล่าวที่เรามักจะแว่วยินกันอยู่บ่อยหน
หากอีกหลายบรรทัดที่ผมกำลังจะบอกเล่าต่อไป เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับการนัดประชุมวางแผนยึดอำนาจของกลุ่มผู้นำ คณะราษฎร ช่วงก่อนหน้าที่พวกเขาจะร่วมกันเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาสู่ระบอบรัฐธรรมนูญ เมื่อวันศุกร์ที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 ซึ่งการนัดประชุมแต่ละครั้งมีลักษณะเข้าทำนอง “แม้ความคิดเห็นจะตรงกัน แต่การพนันก็เกิดขึ้น”
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
Subscribe to บทความ
11
มิถุนายน
2565
ความเดิมตอนที่แล้ว : ศุขปรีดาเล่าเรื่อง : หวอเหงียนย้าป จอมทัพคู่บารมีโฮจิมินห์ : นักอภิวัฒน์หนุ่ม