ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

บทความ

บทความ เว็บไซต์สถาบันปรีดี พนมยงค์ PRIDI BANOMYONG INSTITUTE

บทบาท-ผลงาน
19
เมษายน
2565
สำหรับตอนที่ 2 นั้น ผู้เขียนได้นำเสนอถึงช่วงเวลาภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475 ที่ได้มีการนำเสนอ "ร่างประมวลรัษฎากรฉบับแรกของสยามประเทศ" ในที่ประชุมสภานั้น 'หลวงประดิษฐ์มนูธรรม' ได้มอบหมายให้ 'ดิเรก ชัยนาม' เป็นผู้อ่านหลักการและเหตุผลของร่างพระราชบัญญัติฯ แห่งประมวลรัษฎากร จำนวน 16 ข้อ
บทบาท-ผลงาน
17
เมษายน
2565
'อาชญาสิทธิ์ ศรีสุวรรณ' นำเสนอเรื่องราวเกี่ยวกับปัญหาค่าพาหนะของข้าราชการตำรวจชั้นประทวน โดยเล่าถึง เหตุการณ์ในระหว่างการประชุมสภาผู้แทนราษฎรครั้งที่ 21/2477 (สามัญ) สมัยที่ 2 ครั้งเมื่อ 'หลวงประดิษฐ์มนูธรรม' รั้งตำแหน่งเจ้ากระทรวงมหาดไทย
เกร็ดประวัติศาสตร์
16
เมษายน
2565
  ความเดิมตอนที่แล้ว : ศุขปรีดาเล่าเรื่อง : พรรคประชาชนลาว - พรรคประชาชนปฏิวัติลาว   รัฐบาลผสมชั่วคราวแห่งชาติ ซึ่งถือเป็น การรวมลาวครั้งที่ 3 นี้ นอกเหนือจาก เจ้าสุวันนะพูมา ซึ่งทำหน้าที่นายกรัฐมนตรีแล้ว รองนายกรัฐมนตรีฝ่ายเวียงจันทน์ คือ ท่านเหลื่อมอิน ศรีเชียงใหม่ และดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการด้วย ส่วนฝ่ายแนวลาวรักชาติ คือ พญาพูมี วงวิจิด ก็ควบตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงต่างประเทศ
ชีวิต-ครอบครัว
15
เมษายน
2565
ปฏิทินเดิมของไทย เวลาที่พระอาทิตย์ย่างขึ้นสู่ราศีเมษ เรียกว่า มหาสงกรานต์ และก็เป็นนักขัตฤกษ์เนื่องในการขึ้นปีใหม่ ต่อจากนั้นเป็น วันเนา คือ วันที่พระอาทิตย์โคจรอยู่ระหว่างสองราศี คือ มีนและเมษ และสุดท้ายเป็นวันเถลิงศกจุลศักราช ซึ่งในปัจจุบันได้กำหนด 3 วันนี้ ตามสุริยคติเป็นวันที่13-14-15 เมษายน
บทบาท-ผลงาน
14
เมษายน
2565
  วันนี้เมื่อ 5 ปีที่แล้ว (14 เมษายน 2560)  มีข่าวแพร่สะพัดว่า หมุด ‘ก่อกำเนิดรัฐธรรมนูญ’ หรือเรียกกันอย่างไม่เป็นทางการว่า ‘หมุดคณะราษฎร’ ได้หายไปจากจุดที่มันเคยอยู่ (จากการติดตามของสำนักข่าวประชาไทระบุมีความเป็นไปได้ที่หมุดจะหายไปในช่วงเวลาระหว่างวันที่ 3-7 เมษายน 2560) เป็นปริศนาจวบจนถึงวันนี้
บทบาท-ผลงาน
13
เมษายน
2565
'เขมภัทร ทฤษฎิคุณ' นำเสนอเรื่องราวเกร็ดประวัติศาสตร์ที่มาของ "วันขึ้นปีใหม่" ในอดีต ไม่ว่าจะเป็น 1 เมษายน 13 เมษายน จนถึงกาลปรับเปลี่ยนในปัจจุบันเป็น วันที่ 1 มกราคม โดยประเด็นสำคัญที่ผู้เขียนนำเสนอนั้น วันที่ 1 เมษายน นอกจากจะเป็นวันปีใหม่แล้ว ยังถูกกำหนดให้เป็น "วันเริ่มต้นปีงบประมาณ" อีกด้วย
บทบาท-ผลงาน
12
เมษายน
2565
1 ปี ภายหลังการอภิวัฒน์สยาม แม้จะไม่มีการลั่นกระสุนสักนัดแต่ก็ใช่ว่าการเมืองภายในจะราบรื่น ความขัดแย้งของรัฐบาลใหม่ที่เกิดจากการประนีประนอมกันนั้นค่อยก่อตัวจากคลื่นใต้น้ำจนปะทุเด่นชัดจากนโยบายการแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจระหว่างนโยบายของฝ่าย ‘พระยามโนปกรณ์นิติธาดา’ และ “เค้าโครงการเศรษฐกิจ” หรือที่เรียกกันว่า “สมุดปกเหลือง” ของ ‘หลวงประดิษฐ์มนูธรรม’[1] ที่ได้เสนอต่อสภาผู้แทนราษฎร ซึ่งมีเจตนารมณ์ที่จะทำให้สยามเป็นเอกราชทางด้านเศรษฐกิจ และแก้ไขปัญหาความไม่เสมอภาคทางเศรษฐกิจใ
บทบาท-ผลงาน
11
เมษายน
2565
เมื่อได้ เลิกภาษีอันไม่เป็นธรรม และ จัดเก็บภาษีขึ้นใหม่ ตาม “ประมวลรัษฎากร” นั้น รายได้จากภาษีทางตรงของรัฐขาดไปประมาณ 11 ล้านบาท ไม่ใช่น้อยเลย แต่รัฐมนตรีคลัง ‘ดร.ปรีดี พนมยงค์’ ลูกกสิกรชาวกรุงเก่า ผู้มีสายเลือดจากบุพการีต่างสายกัน ไม่หวั่นวิตกเลย
เกร็ดประวัติศาสตร์
10
เมษายน
2565
เมื่อวันที่ 11 กรกฎาคม 2560 ‘เสน่ห์ จามริก’ มีอายุครบ 90 ปี ในวาระนี้ลูกศิษย์ลูกหาได้ร่วมกันจัดงาน “ดอกหญ้าไหว: สู่ชีวิตและสังคมเสรี  บทเสวนาแห่งสามัญชน” ขึ้นที่ หอจดหมายเหตุพุทธทาส อินทปัญโญ โดยมีลูกศิษย์ของเสน่ห์คนหนึ่งกล่าวรำลึกว่า เขาเป็นนักศึกษาแผนกรัฐศาสตร์ศึกษาที่เสน่ห์ดูแล ครั้งหนึ่งเล่นบาสเกตบอลแขนหัก ไม่อาจใช้มือขวาเขียนตอบข้อสอบได้ เสน่ห์ได้จัดการให้เขาสามารถสอบได้ ด้วยการให้อัดเสียงแล้วให้เจ้าหน้าที่ถอดเป็นคำตอบให้
บทบาท-ผลงาน
8
เมษายน
2565
บทความชิ้นนี้มีหมุดหมายเพื่อนำเสนอพัฒนาการแนวคิดความเป็นธรรมทางเศรษฐกิจ และการปรับปรุงระบบภาษีอากรเพื่อราษฎรของหลวงประดิษฐ์มนูธรรม[1] ก่อนการร่างพระราชบัญญัติให้ใช้บทบัญญัติแห่งประมวลรัษฎากรพุทธศักราช 2481 ผ่านหลักฐานทางประวัติศาสตร์สำคัญได้แก่ นิติสาส์น ฉบับปฐมฤกษ์ บันทึกการประชุมคณะกรรมการราษฎร และเค้าโครงการเศรษฐกิจ 
Subscribe to บทความ