ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

เกร็ดประวัติศาสตร์

เกร็ดประวัติศาสตร์

เกร็ดประวัติศาสตร์
7
พฤศจิกายน
2566
เกร็ดทางประวัติศาสตร์เหตุใดจึงเรียกขานชื่อวิลาศ โอสถานนท์ว่า “เหล็กฝรั่งแห่งการเมืองไทย” “ลูกชายเจ้าเมือง” หรือชื่อที่ว่า “ลูกเขยนักหนังสือพิมพ์ชาวจีน” และปาฐกถาว่าด้วยภัยทางอากาศ ซึ่งร้อยเรียงผ่านเรื่องราวชีวิตของท่าน
เกร็ดประวัติศาสตร์
5
พฤศจิกายน
2566
นิทรรศการ “๕๐ ปี ๑๔ ตุลา ศิลปะจักสำแดง” ด้วยการร่วมมือกันของมูลนิธิ 14 ตุลาและมูลนิธิเด็ก บอกเล่าการเมืองและเรื่องราวของเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516 รวมไปถึงงานเสวนาและผลงานที่จัดแสดงบันทึกเรื่องราวประวัติศาสตร์การเมืองไทย
เกร็ดประวัติศาสตร์
30
ตุลาคม
2566
เรื่องราวความเป็นนักเขียนและนักหนังสือพิมพ์ของจำกัด พลางกูร นับตั้งแต่อิทธิพลที่ส่งผลต่อความเป็นนักเขียนนักหนังสือพิมพ์ ความสัมพันธ์ระหว่างนักเขียนสำคัญกับจำกัด ความคิดความสนใจต่อประเด็นทางสังคม ผลงานชิ้นสำคัญ
เกร็ดประวัติศาสตร์
28
ตุลาคม
2566
“ตำนาน.........รัฐธรรมนูญ” แสดงความคิดเห็นและวิพากษ์วิจารณ์ต่อรัฐธรรมนูญ ดังที่ปรากฏในหนังสือเนื่องในวันปรีดี พนมยงค์ 11 พฤษภาคม 2534 อันเป็นการรำลึกถึงคุณูปการที่คณะราษฎรได้สร้างไว้ ในขณะเดียวกัน ก็ชี้ให้เห็นถึงความด่างพร่อยของรัฐธรรมนูญ ณ ขณะนั้น
เกร็ดประวัติศาสตร์
21
ตุลาคม
2566
ดร.ตั้ว มองว่าวิทยาศาสตร์เป็นปัจจัยสำคัญของการพัฒนาเศรษฐกิจที่จะเป็นรากฐานสร้างความมั่นคงถาวรให้กับประเทศชาติ ไม่ว่าจะในด้านกสิกรรม พานิชยกรรม อุตสาหกรรม รวมไปถึงในด้านการขนส่งที่ล้วนจำเป็นต้องปรับเปลี่ยนและทำให้วิทยาศาสตร์กลายเป็นหัวใจสำคัญของรากฐานในการศึกษา
เกร็ดประวัติศาสตร์
20
ตุลาคม
2566
กวินพร เจริญศรี นำเรื่องราว ปาฐกถา บทเพลง และบทสนทนาที่เกิดขึ้นภายในงาน “เจ้าฝันถึงโลกสีใด” 14 ตุลา จิตวิญญาณประชาธิปไตย เนื่องในวาระ 50 ปี 14 ตุลา โดยเรียบเรียงออกมาสู่ผู้อ่านอีกครั้งในรูปแบบบทความถึงบรรยากาศ ประเด็น และเนื้อหาสำคัญที่สมควรเน้นย้ำในฐานะของการรำลึก “50 ปี 14 ตุลา”
เกร็ดประวัติศาสตร์
18
ตุลาคม
2566
กังวาฬ พุทธิวนิช นำเสนอว่าด้วย คำถามถึงการนำคดีสวรรคตกลับมาพิจารณาใหม่ ผ่านคำอธิบายของ ศ. (พิเศษ) จรัญ ภักดีธนากุล ที่ให้ความเห็นเชิงกฎหมายและความเป็นไปได้ของการนำคดีสวรรคตขึ้นมาพิจารณาใหม่อีกครั้ง
เกร็ดประวัติศาสตร์
6
ตุลาคม
2566
ศ.ดร.ชาญวิทย์ เกษตรศิริ กล่าวถึงเหตุการณ์ 6 ตุลาคม และปรากฏการณ์การเคลื่อนไหวผ่านการมองประวัติศาสตร์ช่วงยาวทั้งในบริบทสังคมไทยที่เกิดขึ้นและเชื่อมกับบริบทสังคมโลกเพื่อสะท้อนให้เห็นถึงปรากฏการณ์ของขบวนการนักศึกษาที่เกิดขึ้น
เกร็ดประวัติศาสตร์
23
สิงหาคม
2566
ข้อเขียนจากมุมมองของ ‘หนิ่ง’ ธิดาคนสุดท้องของท่านชิ้น หรือ ม.จ.ศุภสวัสดิ์วงศ์สนิท สวัสดิวัฒน เล่าถึงบรรยากาศและความสัมพันธ์ระหว่างครอบครัวที่เกิดขึ้นตลอดที่ ‘พ่อ’ กลับมาอยู่ที่ไทยหลังสงครามโลกสิ้นสุดลง
เกร็ดประวัติศาสตร์
21
สิงหาคม
2566
การก่อกำเนิดมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และการเมืองเป็นไปตามเจตนารมณ์ของคณะราษฎร ด้วยความมุ่งหวังให้ประชาชนสามารถมีโอกาสศึกษาเล่าเรียนเพื่อเป็นกำลังสำคัญและเป็นสายธารที่รับใช้ประชาชน และช่วยให้ระบอบประชาธิปไตยดำเนินสืบต่อไป
Subscribe to เกร็ดประวัติศาสตร์