เกร็ดประวัติศาสตร์
เกร็ดประวัติศาสตร์
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
8
สิงหาคม
2566
ชีวประวัติย่อของสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี ตลอดจนช่วงชีวิตในอังกฤษระหว่างที่สงครามโลกครั้งที่ 2 พร้อมทั้งบทบาทของพระองค์ในฐานะผู้สนับสนุนกิจการเสรีไทยสายอังกฤษในด้านต่างๆ อีกทั้งชีวิตในบั้นปลายของสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี ในช่วงทศวรรษที่ 2490 รวมไปถึงความสัมพันธ์ที่แนบแน่นระหว่างพระองค์ กับ ครอบครัวปรีดี - พูนศุข พนมยงค์
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
28
กรกฎาคม
2566
ภายใต้ความมืดมิดและอับเฉา และสิ่งที่เป็นลบหลายประการในสังคม ชีวิตและพฤติการณ์ของ ดร.ป๋วย อึ๊งภากรณ์ กลับเป็นประหนึ่งแสงสว่างอันจัดจ้าจุดหนึ่ง ในท่ามกลางความเลวร้ายอันมืดมิด ดร.ป๋วย อึ๊งภากรณ์ ได้บำเพ็ญตนให้แก่ชาติบ้านเมือง พยายามแก้ไขความไม่เป็นธรรมในสังคม และขจัดภาวะความเสียเปรียบของคนส่วนข้างมากให้หมดไป
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
19
กรกฎาคม
2566
เรื่องราวข้อเขียนรำลึกถึง ‘ม.ร.ว.สายสวัสดี สวัสดิวัตน’ โดย ‘กษิดิศ อนันทนาธร’ ผู้สนใจประวัติศาสตร์การเมืองและสังคมไทย ซึ่งได้รู้จักและมีความคุ้นเคยกับสตรีผู้นี้มากว่า 12 ปี
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
9
กรกฎาคม
2566
ที่มาและการออกแบบของตึกโดม ซึ่งเป็นสัญลักษณ์หรือภาพแทนตัวของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์อย่างทุกวันนี้ และยังเป็นมรดกสำคัญของคณะราษฎรที่ส่งต่อมาให้อยู่คู่กับมหาวิทยาลัยแห่งนี้ มีกระบวนการออกแบบและเรื่องราวที่เกี่ยวข้องเช่นใด
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
4
กรกฎาคม
2566
นายพึ่ง ศรีจันทร์ อดีตประธานสภาผู้แทนราษฎรสมัย พ.ศ. 2490 นับเป็นบุคคลในแบบอย่างของการวางตัวให้สมาชิกทุกพรรคเคารพยำเกรงในการทำหน้าที่
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
28
มิถุนายน
2566
เรื่องราวการเปิดประชุมสภาครั้งแรกในหน้าประวัติศาสตร์การเมืองไทย เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน 2475 ณ พระที่นั่งอนันตสมาคม ภายใต้ระบอบใหม่นี้เองฝ่ายบริหารและฝ่ายนิติบัญญัติดำเนินการนโยบายต่างๆ ผ่านสภาผู้แทนราษฎร เพื่อทำหน้าที่ใช้สิทธิออกเสียงแทนประชาชนทั่วประเทศ
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
22
มิถุนายน
2566
อนุสรณ์รัฐธรรมนูญจังหวัดจันทบุรี ฉายภาพให้เห็นถึงความตื่นตัวและความสัมพันธ์ระหว่างราษฎรในท้องถิ่นกับระบอบใหม่ ตลอดจนวิเคราะห์รายละเอียดและคุณค่าทางสถาปัตยกรรมของอนุสาวรีย์แห่งนี้ซึ่งสะท้อนความทรงจำของการระบอบใหม่
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
20
มิถุนายน
2566
ระบอบประชาธิปไตยต้องชะงักงันจนเกิดสุญญากาศทางการเมือง 'พระยาพหลพลพยุหเสนา' ร่วมกับคณะราษฎรจำนวนหนึ่ง จึงคิดหาทางแก้ไขสถานการณ์เพื่อนำระบอบประชาธิปไตยกลับเข้าสู่หลักการตามรัฐธรรมนูญดังเดิม ในวันที่ 20 มิถุนายน พ.ศ. 2476 พร้อมเปิดประชุมสภาผู้แทนราษฎรในวันถัดมา
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
18
มิถุนายน
2566
เรื่องราวของ นายสงวน ตุลารักษ์ ในช่วงหลังการอภิวัฒน์สยาม 2475 ในฐานะสมาชิกคณะราษฎรปีกซ้ายซึ่งมีแนวคิดสังคมนิยม ทว่ากลับต้องเผชิญกับวิบากกรรมทางการเมืองด้วยข้อกล่าวหากระทำการอันเป็นคอมมิวนิสต์ เนื่องด้วยการเผยแพร่แนวคิดแบบสังคมนิยม
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
Subscribe to เกร็ดประวัติศาสตร์
10
มิถุนายน
2566
บทสรุปความปรารถนาและความใฝ่ฝันของประธานโฮจิมินห์ที่บรรลุผลในที่สุด หลังชัยชนะของ "แนวร่วมปลดปล่อยเวียดนามใต้" หรือ "เวียดกง" มีชัยเหนือสหรัฐอเมริกา เรื่องราวการปลดปล่อยเวียดนามสู่อิสรภาพซึ่งถูกครอบงำนับตั้งแต่กลางทศวรรษ 1950