ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

เกร็ดประวัติศาสตร์

เกร็ดประวัติศาสตร์

เกร็ดประวัติศาสตร์
6
เมษายน
2567
ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชไทย เศรษฐกิจเป็นแบบดั้งเดิม ราษฎรส่วนใหญ่ยากจน ขาดความรู้ธุรกิจ ทุนกับการค้าตกอยู่ต่างชาติ รัฐไม่ส่งเสริมอุตสาหกรรมแต่เน้นเก็บภาษี ส่งผลกระจายรายได้ไม่เป็นธรรมและพัฒนาเศรษฐกิจล่าช้า
เกร็ดประวัติศาสตร์
5
เมษายน
2567
การเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ. 2475 โดยเหล่าผู้ก่อการที่รู้จักกันในนาม “คณะราษฎร” ได้เริ่มต้นจากแนวคิดของเหล่านักเรียนนอกที่มีแนวคิดเห็นด้วยกับนายปรีดี พนมยงค์ จึงเกิดการดำเนินการชักชวนผู้ที่สนใจเข้าร่วมขบวนการ
เกร็ดประวัติศาสตร์
5
เมษายน
2567
การรำลึกชีวประวัติบนความทรงของอาจารย์ธเนศ อาภรณ์สุวรรณที่ได้ประสบพบเจอกับครูองุ่น มาลิก ในช่วงเวลาหนึ่งของชีวิต พบว่าครูองุ่นได้เสียสละอุทิศตนเพื่อสร้างประโยชน์สู่สังคมตลอดมาจวบจนช่วงเวลาสุดท้ายของชีวิต
เกร็ดประวัติศาสตร์
2
เมษายน
2567
เอกสารการปกครองสมัยรัชกาลที่ 7 แม้จะเรียกว่า "รัฐธรรมนูญ" แต่มุ่งเน้นการรวมอำนาจไว้ที่พระมหากษัตริย์และชนชั้นสูง สะท้อนลักษณะการปกครองแบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มากกว่าระบอบประชาธิปไตย การศึกษาเอกสารอย่างละเอียดจะทำให้เข้าใจบริบททางประวัติศาสตร์ในช่วงเปลี่ยนผ่านได้ดียิ่งขึ้น
เกร็ดประวัติศาสตร์
1
เมษายน
2567
พระยามโนปกรณ์นิติธาดา คัดค้านโครงการเศรษฐกิจของคณะราษฎรและ ดร.ปรีดี พนมยงค์ จึงใช้วิธีควบคุมสภาด้วยการสั่งทหารเข้าตรวจค้นสมาชิก ซึ่งถือเป็นการล้ำรัฐธรรมนูญและข่มขู่สถาบันประชาธิปไตย สะท้อนความขัดแย้งรุนแรงในช่วงเปลี่ยนผ่านการปกครอง
เกร็ดประวัติศาสตร์
31
มีนาคม
2567
กุหลาบ สายประดิษฐ์ ได้อธิบายมูลเหตุและแรงจูงใจในการปฏิวัติ พ.ศ. 2475 จากมุมมองของผู้ร่วมเหตุการณ์สำคัญในชุดบทความ "เบื้องหลังการปฏิวัติ" ซึ่งถือเป็นหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่สำคัญ
เกร็ดประวัติศาสตร์
29
มีนาคม
2567
ภายหลังการอภิวัฒน์สยาม พ.ศ. 2475 คณะราษฎรได้เดินทางไปยังพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เพื่อสังเกตการณ์ และรับความเห็นจากผู้ว่าราชการจังหวัดต่างๆ เพื่อนำเสนอเข้าที่ประชุมคณะรัฐมนตรี ในการดำเนินการด้านต่างๆ
เกร็ดประวัติศาสตร์
29
มีนาคม
2567
ความสัมพันธ์พระยาพหลฯกับพระปกเกล้าฯ เริ่มด้วยความร่วมมือแต่กลายเป็นขัดแย้ง เนื่องจากพระองค์ทรงมีความกังวลต่อระบอบประชาธิปไตย มีข้อสงสัยบ่งชี้ว่าทรงรู้เห็นกบฏบวรเดช ก่อนเสด็จออกประเทศและสละราชสมบัติ สะท้อนความตึงเครียดจากการเปลี่ยนผ่านการปกครอง
เกร็ดประวัติศาสตร์
27
มีนาคม
2567
โครงการดุสิตธานีและร่างกฎหมายพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2473 เป็นความพยายามของชนชั้นนำในสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์ แต่ยังไม่ใช่การปกครองท้องถิ่นแบบประชาธิปไตยเต็มรูปแบบ เนื่องจากยังคงเน้นการรวมศูนย์อำนาจ ไม่ได้กระจายอำนาจไปสู่ประชาชนอย่างแท้จริง
เกร็ดประวัติศาสตร์
22
มีนาคม
2567
ในบันทึกนี้เป็นเรื่องราวที่ สุโข สุวรรณศิริ ได้กล่าวถึงความทรงจำของ “วิเชียร วัฒนคุณ“ เพื่อนสนิทในครั้งขณะศึกษาชั้นเตรียมปริญญา ของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และการเมือง ในแง่ของคุณงานความดี และหน้าที่การงาน
Subscribe to เกร็ดประวัติศาสตร์