ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

เกร็ดประวัติศาสตร์

เกร็ดประวัติศาสตร์

เกร็ดประวัติศาสตร์
14
กรกฎาคม
2564
ภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง หนึ่งในนโยบายหลักที่สำคัญของคณะราษฎรคือการเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชนท้องถิ่น ผ่านการวางแนวคิดที่เป็นโครงสร้างหลักของรัฐไทยสมัยใหม่
เกร็ดประวัติศาสตร์
11
กรกฎาคม
2564
อาจก่อความแปลกใจให้แก่คุณผู้อ่านไม่น้อยทีเดียวว่า “พระยาพหลพลพยุหเสนา” (พจน์ พหลโยธิน) ผู้นำคณะราษฎรสายทหารที่ร่วมก่อการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475
เกร็ดประวัติศาสตร์
27
มิถุนายน
2564
ในปัจจุบันเมื่อพูดถึงรัฐธรรมนูญ คนส่วนใหญ่คงรู้และเข้าใจได้ว่า “รัฐธรรมนูญ” หมายถึง ชื่อของกฎหมายที่กำหนดระเบียบแห่งอำนาจสูงสุดในรัฐและความสัมพันธ์ระหว่างอำนาจเหล่านี้ต่อกันและกัน
เกร็ดประวัติศาสตร์
24
มิถุนายน
2564
เวลาย่ำรุ่งของวันศุกร์ที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 “คณะราษฎร” ได้ร่วมกันทำการยึดอำนาจการปกครองประเทศ เพื่อเปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นระบอบประชาธิปไตยโดยมีรัฐธรรมนูญใช้เป็นหลักในการปกครองประเทศ
เกร็ดประวัติศาสตร์
22
มิถุนายน
2564
ตัวอย่างรูปธรรม เช่น ในรัฐธรรมนูญ 2475 กำหนดให้ “พระบรมวงศานุวงศ์ตั้งแต่ชั้นหม่อมเจ้าขึ้นไปโดยกำเนิด หรือโดยแต่งตั้งก็ตาม ย่อมดำรงอยู่ในฐานะเหนือการเมือง” ด้วยเหตุดังกล่าวทำให้การใช้อำนาจใดๆ ขององค์พระมหากษัตริย์จะต้องมีผู้รับสนองพระบรมราชโองการ
เกร็ดประวัติศาสตร์
19
มิถุนายน
2564
น้อยคนนักจะทราบเรื่องที่นายปรีดี พนมยงค์เองก็เป็นอีกบุคคลหนึ่งผู้วางแผนสำรองไว้ด้วยเช่นกัน นั่นคือ “แผนตลิ่งชัน”
เกร็ดประวัติศาสตร์
16
มิถุนายน
2564
แม้รัชกาลที่ 7 จะมีการรับสั่งให้ร่างรัฐธรรมนูญ ที่ยังคงมีเนื้อหาที่มุ่งไปสู่การเอื้ออำนวยให้เกิดความชอบธรรมแก่ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ที่แก้ไขใหม่เท่านั้น ในแง่นี้การมีรัฐธรรมนูญจึงไม่เท่ากับการมีประชาธิปไตยด้วย นี่จึงเป็นหนึ่งในบรรดาเหตุผลที่คณะราษฎรเลือกที่จะทำการอภิวัฒน์เพื่อเปลี่ยนแปลงการปกครองในวันที่ 24 มิถุนายน 2475
เกร็ดประวัติศาสตร์
11
มิถุนายน
2564
แทบไม่น่าเชื่อ เพียงราว 2 ปี ภายหลังรัชกาลของพระผู้ทรงสถาปนาระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ และพระผู้ทรงเป็นทุกสิ่งทุกอย่างของสยามได้สิ้นสุดลง
เกร็ดประวัติศาสตร์
10
มิถุนายน
2564
บทความชิ้นนี้ต้องการนำเสนอคำโต้แย้งแรกๆ ต่อคำอธิบายข้างต้น ที่เกิดขึ้นหลังจากระบอบเผด็จการทหารล่มสลาย การผลิดอกออกผลของปัญญาญาณและข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์ก็ค่อยๆ เบ่งบานขึ้นมา
เกร็ดประวัติศาสตร์
6
มิถุนายน
2564
ต.ม.ธ.ก. คือ โรงเรียนและนักเรียนระดับมัธยมบริบูรณ์ (๒ ชั้นปี เตรียมปีที่ ๑ และ เตรียมปีที่ ๒) ที่เป็นปรากฏการณ์สำคัญของ ต.ม.ธ.ก. อยู่ ๘ ปี มีนักเรียน ๘ รุ่น ระหว่างปี ๒๔๘๑-๒๔๙๐
Subscribe to เกร็ดประวัติศาสตร์