เกร็ดประวัติศาสตร์
เกร็ดประวัติศาสตร์
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
5
มิถุนายน
2564
บทความนี้ 'อาชญาสิทธิ์ ศรีสุวรรณ' จะพาท่านผู้อ่านไปทำความรู้จัก 2 พ่อลูกนักคิดหัวก้าวหน้าในยุคเปลี่ยนผ่านของหน้าประวัติศาสตร์ไทยอย่าง ก.ศ.ร.กุหลาบ และบุตรชายของเขา "นายชาย ตฤษณานนท์" (ก.ห. ชาย)
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
4
มิถุนายน
2564
ประเทศฝรั่งเศสในปี ค.ศ.1789 เกิดความเปลี่ยนแปลงทางสังคม การเมือง และวัฒนธรรมอย่างใหญ่หลวงหลายประการ หนึ่งในนั้นคือ “การทลายคุกบาสตีย์” (Prise de la Bastille) ในวันที่ 14 กรกฎาคม
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
3
มิถุนายน
2564
‘ก.ศ.ร. กุหลาบ’ และ ‘เทียนวรรณ’ เป็นบุคคลร่วมสมัยที่เกิดในรัชกาลที่ 3 และเติบโตในขณะที่อิทธิพลของอารยธรรมตะวันตกกำลังแพร่สะพัดอยู่ในสังคมระดับสูง ถึงแม้ว่าบุคคลทั้งสองจะมิได้มีตำแหน่งหน้าที่ในทางราชการก็ตาม
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
2
มิถุนายน
2564
ภายในช่วงระยะเวลาประมาณ 60 ปี นับตั้งแต่รัชกาลที่ 5 ได้ทรงขึ้นครองราชย์สมบัติเมื่อ ปี พ.ศ. 2411 จนถึงก่อนที่จะมีการเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 นั้น เป็นช่วงที่ประเทศไทยมีพัฒนาการของแนวความคิดเกี่ยวกับอำนาจรัฐไปอย่างรวดเร็ว
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
31
พฤษภาคม
2564
31 พฤษภาคม 2564 ครบรอบ 60 ปี การประหารชีวิตอดีตนักการเมืองสามัญชนคนสำคัญผู้หนึ่งคือ ‘ครอง จันดาวงศ์’
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
30
พฤษภาคม
2564
ความแตกต่างระหว่างนายปรีดีกับหลวงพิบูลสงครามในด้านรูปแบบและรสนิยมการรับประทานอาหารเช้า ซึ่งพอจะสื่อนัยยะของแนวความคิดทางสังคมการเมืองได้
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
27
พฤษภาคม
2564
วันที่ 27 พฤษภาคม เป็นวันคล้ายวันเกิดพุทธทาสภิกขุ หรือ เรียกกันว่า "วันล้ออายุ"
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
24
เมษายน
2564
บ่ายวันอังคารที่ 22 ธันวาคม พ.ศ. 2563 ผมสบโอกาสเข้าร่วมสัมภาษณ์คุณสุดา และคุณดุษฎี พนมยงค์ บุตรีของนายปรีดี และท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ พร้อมคุณยงจิตต์ สุนทร-วิจารณ์ หลานชายผู้ใกล้ชิดขณะพำนักอยู่ในฝรั่งเศส ระหว่างสนทนาตอนหนึ่ง คุณยงจิตต์กล่าวถึงการที่เคยขับรถยนต์พานายปรีดีเดินทางไปเยี่ยมหลุมฝังศพอาจารย์ชาวฝรั่งเศส ผู้ซึ่งนายปรีดีเคารพรักและนับถือมากๆ ณ สุสานต่างเมืองช่วงเดือนพฤศจิกายนเป็นประจำทุกๆ ปี
พอเล่าตรงจุดนี้ ผมจึงเอ่ยถามคุณยงจิตต์ว่า
“อาจารย์ชาวฝรั่งเศสคนนั้นคือใคร?”
“ใช่อาจารย์เลเดอแกร์หรือเปล่า?”
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
14
เมษายน
2564
ถึงแม้วันนี้ “หมุดคณะราษฎร 2475” และ “หมุดคณะราษฎร 2563” ได้ถูกทำให้สาบสูญไปแล้วก็ตาม แต่นั่นก็หาใช่ว่าจะสามารถพังทลายอุดมการณ์ของผู้ที่มีใจรักประชาธิปไตยลงไปได้ เพราะหมุดหมายเป็นเพียงสัญลักษณ์ เป็นเพียงวัตถุที่ใครก็ตามสามารถทำให้เคลื่อนที่ได้ตามแต่ใจปรารถนา ถ้าหมุดหมายที่หายไปจะหมายถึงอุดมการณ์
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
Subscribe to เกร็ดประวัติศาสตร์
6
เมษายน
2564
ไม่ว่าจะอยู่ในบทบาทไหน "ฉลบชลัยย์ พลางกูร" หรือที่เรียกกันอย่างเคยชินว่า "ครูฉลบ" ก็เป็นบุคคลอันเป็นที่รักของผู้ใกล้ชิดอย่างเต็มหัวใจ