แนวคิด-ปรัชญา
แนวคิดและปรัชญาทางการเมืองของปรีดี
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
22
มกราคม
2566
อาชญาสิทธิ์ ศรีสุวรรณ เขียนถึงนายปรีดี พนมยงค์กับความเป็นมาของสูทสีกรมท่าตัวโปรดอันเป็นภาพคุ้นตาตามที่ได้ถูกบันทึกไว้ในขณะที่นายปรีดีใช้ชีวิตและลี้ภัยทางการเมือง ณ ต่างแดน นอกจากนี้ยังได้บอกเล่าพัฒนาการโดยย่อของประวัติศาสตร์เครื่องแต่งกายที่เกิดขึ้นในโลกตะวันตก ราวต้นศตวรรษที่ 19 ซึ่งถือเป็นจุดกำเนิดของแฟชั่นชุดสูทแบบสากล
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
15
มกราคม
2566
ธัญญ์วาริน สุขะพิสิษฐ์ กล่าวถึงการต่อสู้เพื่อกฎหมายสมรสเท่าเทียม อันเกิดจากเบื้องหลังในชีวิตและการทำงานในวงการบันเทิง รวมไปถึงยังได้ชี้ให้เห็นถึงการเปิดกว้างต่อความหลากหลายทางเพศในแวดวงบันสื่อบันเทิง ผ่านซีรีส์วาย รวมไปถึงข้อจำกัดที่ต้องประสบ คือ การปิดกั้นจากกฏหมายที่จำกัดสิทธิในการแสดงออก
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
14
มกราคม
2566
ฐิติรัตน์ ทิพย์สัมฤทธิ์กุล กล่าวถึงหนทางสู่ความเท่าเทียมทางเพศ ผ่านข้อเสนอเพื่อนำไปสู่จุดหมายและทลายปัญหาทางเพศที่เกิดขึ้นในสังคมไทย
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
13
มกราคม
2566
ศ.ดร.ไทเรล ฮาเบอร์คอร์น กล่าวถึงช่องว่างทางกฎหมายที่สังคมไทยกำลังเผชิญอยู่ในปัจจุบัน ตลอดจนบทบาทของอาจารย์ในสถานศึกษาซึ่งต้องช่วยสร้างพื้นที่ปลอดภัยแก่นักศึกษา นอกจากนี้ยังชี้ให้เห็นถึงพัฒนาการด้านสิทธิของผู้มีความหลากหลายทางเพศ ผ่านกรณี ไต้หวัน และสหรัฐอเมริกา รวมไปถึงทิศทางของการต่อสู้ของกลุ่ม LGBTQIA+ ของไทยในอนาคต
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
12
มกราคม
2566
ชานันท์ ยอดหงษ์ กล่าวถึงบทบาทของรัฐในการรับรองสิทธิของกลุ่มคนผู้มีความหลากหลายทางเพศซึ่งยังปรากฏมุมมองความเหลื่อมล้ำทางเพศและการเลือกปฏิบัติ ตลอดจนบทบาทในฐานะผู้ผลักดันและมีส่วนร่วมของการทำงานด้านการเมืองเชิงอัตลักษณ์ให้แก่พรรคการเมือง รวมไปถึงบอกเล่าความเหลื่อนไหวของสตรีผ่านแง่มุมประวัติศาสตร์ในช่วงเวลาการอภิวัฒน์ 2475
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
8
มกราคม
2566
ความเท่าเทียมที่รอวันมาถึงแก่ผู้มีความหลากหลายทางเพศ ในฐานะสิทธิพึงมีและสิทธิมนุษยชนขั้นพื้นฐาน รวมทั้งบอกเล่าการละเมิดสิทธิมนุษยชนและอุปสรรคที่เกิดขึ้นต่อกลุ่มผู้มีความหลากหลายทางเพศ อันเป็นอาชญากรรมที่เกิดจากการเกลียดชัง พร้อมทั้งตอบคำถามเพื่อสร้างความเข้าใจและขจัดอคติดังกล่าว เพื่อนำไปสู่ความเสมอภาคแก่มนุษย์ทุกคน
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
7
มกราคม
2566
ไทเรล ฮาเบอร์คอร์น บอกเล่าปัญหาในความไม่สนใจและการไม่เปิดพื้นที่ต่อบทบาทของสตรีในการสร้างหรือต่อสู้เพื่อประชาธิปไตย โดยเริ่มต้นจากจุดหันเหทางการเมืองไทยเมื่อคราวอภิวัฒน์สยาม อีกทั้งบอกเล่าชุดเรื่องราวกระแสรองเพื่อเปิดพื้นที่ทางประวัติศาสตร์ของสตรีอย่างเท่าเทียม ผ่านชีวิตและการต่อสู้ของ "ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์"
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
4
มกราคม
2566
โครงสร้างของระบอบชายเป็นใหญ่ (Patriarchy) ซึ่งเป็นฐานคิดหนึ่งที่ถูกปะทะจากการเข้าสู่ระบอบใหม่ จนเกิดบรรทัดฐานใหม่ทางเพศในสังคมและการเคลื่อนไหวของสตรีภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง ตลอดจนนำไปสู่การรื้อสร้างและต่อสู้ทางวัฒนธรรมที่ยังคงดำเนินต่อไป
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
3
มกราคม
2566
เสียงสะท้อนหนึ่งจากการเคลื่อนไหวทางสังคมในโมงยามปัจจุบัน คือการขับเคลื่อนต่อประเด็นสิทธิมนุษยชนและความเสมอภาคทางเพศแก่ประชาชน เพื่อรองรับแก่คนทุกผู้ทุกนามผ่านรัฐธรรมนูญ ไม่ว่าเขาเหล่านั้นจะอยู่ในเพศวิถีหรือเพศสภาพใดก็ตาม
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
Subscribe to แนวคิด-ปรัชญา
30
ธันวาคม
2565
คำอธิบายโดยทั่วไปถึงความแตกต่างของรัฐธรรมนูญ 2 ฉบับ ระหว่างฉบับที่หนึ่ง (24 มิถุนายน 2475) หรือพระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยาม (ชั่วคราว) พ.ศ. 2475 และฉบับที่สอง (10 ธันวาคม 2475) หรือ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยาม พ.ศ. 2475 มักจะชี้ให้เห็นถึงการประนีประนอมระหว่างฝ่ายคณะราษฎรและฝ่ายตัวแทนของระบอบเก่า จนกระทั่งได้ข้อสรุปในเรื่องสำคัญคือ การยอมรับอำนาจอธิปไตยเป็นของปวงชนชาวไทย แต่กำหนดให้พระมหากษัตริย์เป็นประมุขของรัฐ และทรงใช้อำนาจอธิปไตยนั้นผ่านฝ่ายนิติบัญญัติ บริหาร และตุลาการ