ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

แนวคิด-ปรัชญา

แนวคิดและปรัชญาทางการเมืองของปรีดี

แนวคิด-ปรัชญา
18
พฤษภาคม
2566
ความหวังและความฝันของคนหนุ่มสาวในการเปลี่ยนผ่านสังคมไปสู่ระบอบประชาธิปไตยที่แท้จริง ผ่านการเคลื่อนไหวและการต่อสู้ของภาคประชาชนนับตั้งแต่ปี 2563 เป็นต้นมา เพื่อตั้งคำถามต่อโครงสร้างทางการเมืองที่ไม่เป็นธรรม และสร้างพื้นที่สาธารณะให้แก่ผู้คนซึ่งมีความคิดเห็นที่แตกต่างกันภายในสังคมสามารถอยู่ร่วมกันได้
แนวคิด-ปรัชญา
17
พฤษภาคม
2566
ความท้าทายทางอุดมการณ์ทางการเมือง เพื่อสร้างดุลยภาพแห่งอำนาจให้เกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรมในระบอบประชาธิปไตย ความพยายามในการสร้างระบอบประชาธิปไตยขึ้นผ่านการเลือกตั้ง จึงเป็นการเปลี่ยนผ่านภูมิทัศน์ทางการเมืองจากอำนาจในระบอบเก่า ไปสู่การเมืองใหม่ของประชาชน
แนวคิด-ปรัชญา
16
พฤษภาคม
2566
การคัดง้างระหว่างอำนาจที่สำคัญต่อปัจจัยในการวางรากฐานประชาธิปไตยของสังคมไทยเมื่อครั้งการอภิวัฒน์สยาม 2475 ได้แก่ อำนาจทางกองทัพ และอำนาจตามประเพณีซึ่งเป็นมรดกตกค้างจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์
แนวคิด-ปรัชญา
13
พฤษภาคม
2566
“Electoral Justice: International IDEA Handbook” นำเสนอระบบความเที่ยงธรรมในการเลือกตั้งที่มีประสิทธิผล การยื่นและยุติการคัดค้านในการเลือกตั้งรวมทั้งการหยิบยกวิธีการต่างๆ ที่จะป้องกันข้อพิพาทและส่งเสริมสิทธิการเลือกตั้ง
แนวคิด-ปรัชญา
10
พฤษภาคม
2566
ศาสตราภิชาน แล ดิลกวิทยรัตน์ ได้แสดงทรรศนะในการอภิปรายเรื่อง "ปรีดี พนมยงค์ กับประชาธิปไตยไทย" ไว้ ณ เรือนไทยหอประชุมภายในเขตอนุสรณ์สถานปรีดี พนมยงค์ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เมื่อครั้งอัญเชิญอัฐิธาตุของ 'นายปรีดี พนมยงค์' กลับสู่มาตุภูมิ เมื่อวันที่ 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2529
แนวคิด-ปรัชญา
10
พฤษภาคม
2566
ย้อนอ่านประวัติศาสตร์การเลือกตั้งเมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 ซึ่งถือเป็นครั้งที่ถูกจารึกไว้ว่าเป็นการเลือกตั้งที่สกปรกมากที่สุดของไทย อันเป็นการเลือกตั้งที่พบปัญหาการทุจริต เพื่อถอดบทเรียนการเมืองและหนทางการต่อสู้สำหรับเปลี่ยนแปลงประเทศไปสู่ระบอบประชาธิปไตย
แนวคิด-ปรัชญา
4
พฤษภาคม
2566
สำรวจความเป็นมาขององค์กรอิสระซึ่งทำหน้าที่เป็นกรรมการในการเลือกตั้ง อย่าง "กกต." จากที่ควรจะล่องหนไร้ตัวตนเพื่อกำกับการเลือกตั้งให้เป็นไปโดยสุจริตเที่ยงธรรมอยู่หลังม่านการเมือง กลับกลายเป็นผู้มีบทบาทเด่นจนถูกมองว่าเป็น "ผู้เล่น" สำคัญคนหนึ่งในเกมการเมืองเบื้องหน้า
แนวคิด-ปรัชญา
3
พฤษภาคม
2566
3 ทศวรรษแห่ง "วันเสรีภาพสื่อมวลชนโลก" (3 พฤษภาคม) ชวนทบทวนสำคัญในการทำงานของคนทำสื่อท่ามกลางวิกฤติหรือความเปลี่ยนแปลงทางสังคม พร้อมถอดรหัสท่าทีและความเคลื่อนไหวในแวดวงสื่อมวลชนของไทย ภายใต้ภูมิทัศน์ทางการเมืองที่แปรเปลี่ยนไปตามพลวัต เพื่อทบทวนการทำหน้าที่ของสื่อมวลชนด้วยหลักการของระบอบประชาธิปไตย
แนวคิด-ปรัชญา
1
พฤษภาคม
2566
ความเป็นมาของวันแรงงานสากล กับความพยายามในการขับเคลื่อนเพื่อลดชั่วโมงการทำงานของผู้ใช้แรงงานทั่วโลก พร้อมคำถามและข้อฉงนระหว่างทางแห่งประวัติศาสตร์ของการเคลื่อนไหวว่า เป้าหมายคืออะไร การบรรลุเป้าหมายมีเพียงใด ผ่านวิธีการเช่นไร ระหว่างวิถีอันสันติกับความรุนแรง และให้บทเรียนอะไรบ้าง
แนวคิด-ปรัชญา
30
เมษายน
2566
สาระจากงาน "PRIMATES and ME: เรียนรู้วานร เข้าใจมนุษย์" ว่าด้วยเรื่องราวของวานรหรือลิงกับมนุษย์โดยมองผ่านแง่มุมต่างๆ มุ่งเน้นด้านไพรเมตวิทยา (Primatology) ผสมผสานเข้ากับวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ มานุษยวิทยากายภาพ และมานุษยวิทยาวัฒนธรรม
Subscribe to แนวคิด-ปรัชญา