แนวคิด-ปรัชญา
แนวคิดและปรัชญาทางการเมืองของปรีดี
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
26
ธันวาคม
2565
ความเสมอภาคของปวงชนชาวไทยที่ได้ถูกบัญญัติขึ้นครั้งแรกใน "พระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว พ.ศ. 2475" ถือเป็นหมุดหมายสำคัญในการรับรองสิทธิและเสรีภาพให้แก่ประชาชนผ่านการเลือกตั้ง และเปรียบเทียบพัฒนาการทางการเมืองระหว่างไทยและต่างประเทศ โดยสะท้อนถึงบริบทและเงื่อนไขที่แตกต่างกันไปในแต่ละพลวัตทางสังคม อันนำไปสู่ความเสมอภาคของประชาชน
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
25
ธันวาคม
2565
บทบาทของสตรีในทางการเมือง เป็นอีกหนึ่งเครื่องชี้วัดสำคัญของความเป็นประชาธิปไตยในระดับสากล คุณหญิงจันทนีถือเป็นคุณูปการสำคัญที่ขับเคลื่อนเรื่องสิทธิและเสรีภาพของผู้หญิงในทุกๆ มิติให้มีความรุดหน้ามากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะในโมงยามที่เสียงของผู้หญิงนั้นถูกละเลย ถือได้ว่าการทำงานของคุณหญิงจันทนีเป็นอีกหนึ่งจุดเปลี่ยนและรากฐานเพื่อปูทางไปสู่การขับเคลื่อนประเด็นดังกล่าวต่อมาในอนาคต
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
23
ธันวาคม
2565
จากหัวข้อการเสวนา PRIDI Talks #18 × SDID : “หนทางสู่รัฐธรรมนูญฉบับประชาชน” นำไปสู่การร่วมหาคำตอบผ่านทัศนะของผู้ร่วมเสวนาทุกท่าน
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
23
ธันวาคม
2565
การนำเสนอรายงานการวิจัย เรื่อง ความคิดทางรัฐธรรมนูญและความมุ่งหมายทางการเมืองในการจัดทำร่างรัฐธรรมนูญ : ศึกษาผู้ร่วมออกแบบร่างรัฐธรรมนูญ ปี 2540, 2550, 2558 และ 2560 โดย ดร.ชาย ไชยชิต และ ดร.เอกลักษณ์ ไชยภูมี นักวิจัยประจำมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
22
ธันวาคม
2565
ยิ่งชีพ อัชฌานนท์ กล่าวถึงเส้นทางการเคลื่อนไหวในการร่างรัฐธรรมนูญอันเกิดจากการผลักดันของภาคประชาชนและพรรคการเมืองต่างๆ ซึ่งได้เริ่มต้นนับตั้งแต่ปี 2563 จนถึงกระทั่งปัจจุบัน โดยมีจุดมุ่งหมายสำคัญคือการแก้ไขรัฐธรรมนูญฉบับ 2560 นอกจากนี้ ยังได้ชี้ให้เห็นถึงจุดขวางกั้นที่ทำให้ทั้งพรรคการเมืองและภาคประชาชนต้องพบกับอุปสรรคใหญ่ในหนทางการแก้ไขรัฐธรรมนูญ อันเกิดจากเงื่อนไขบทบัญญัติในรัฐธรรมนูญฉบับ 2560 ที่กำหนดไว้
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
19
ธันวาคม
2565
รศ.ดร.วรรณภา ติระสังขะ กล่าวถึงกล่าวถึงความสำคัญและกลไกของรัฐธรรมนูญในฐานะเครื่องมือสำคัญเพื่อรับใช้ประชาชน พร้อมทั้งชี้ถึงความจำเป็นของการเปิด "พื้นที่สาธารณะ" เพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนทางความคิดของคนในสังคม ทั้งนี้ยังได้เสนอหนทางที่นำไปสู่รัฐธรรมนูญฉบับประชาชนในอนาคต
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
18
ธันวาคม
2565
รศ.ดร.มุนินทร์ พงศาปาน กล่าวถึงความไม่เป็นกฎหมายสูงสุดของรัฐธรรมนูญ ซึ่งเกิดขึ้นนับตั้งแต่จุดเริ่มต้นของกระบวนการยุติธรรมไทยในอดีต เปรียบเสมือนติดกระดุมผิดเม็ด จนกรุยทางไปสู่ความป่วยไข้ของรัฐธรรมนูญที่ส่งผลต่อทัศนคติในหมู่นักกฎหมายและประชาชน
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
17
ธันวาคม
2565
ความสำคัญของรัฐธรรมนูญโดยเชื่อมโยงกับสังคมไทยและการต่อสู้ทางการเมืองในโมงยามปัจจุบัน พร้อมทั้งวิพากษ์คำว่า "Constitution" "Constitutional" และ "Constitutionalism" ผ่านแว่นตาของรัฐศาสตร์ คำดังกล่าวต่างเต็มไปด้วยนัยทางการเมืองที่แตกต่างกันและส่งผลต่อฐานคิดว่าด้วย "รัฐธรรมนูญ"
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
16
ธันวาคม
2565
กล้า สมุทวณิช กล่าวถึง "ความสำคัญของรัฐธรรมนูญ" "อำนาจสถาปนารัฐธรรมนูญ" และ "อำนาจสถาปนารัฐธรรมนูญดั้งเดิม" ตลอดจนเส้นทางของรัฐธรรมนูญนับตั้งแต่อดีตจนถึงฉบับปัจจุบันในสายธารประวัติศาสตร์การเมืองไทย พร้อมกันนี้ได้เน้นย้ำช่องโหว่ทางกฎหมายเพื่อลดอุปสรรคสำหรับรัฐธรรมนูญฉบับประชาชนที่กำลังจะมาถึง อีกทั้งยังถอดบทเรียนจากวรรณกรรมเรื่อง "เกิดใหม่ครั้งนี้จะสร้างประเทศที่ดีได้หรือเปล่านะ" เพื่อให้ได้ซึ่งรัฐประชาธิปไตยอย่างแท้จริง
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
Subscribe to แนวคิด-ปรัชญา
15
ธันวาคม
2565
รศ.ดร.อนุสรณ์ ธรรมใจ กล่าวถึงความสำคัญของการปกครองด้วยระบอบประชาธิปไตยและรัฐธรรมนูญ อันมีหัวใจสำคัญคือการยึดโยงต่อประชาชน เพื่อการสถาปนารัฐและระบอบการเมืองที่มั่นคง พร้อมกันนี้ยังได้นำเสนอทางออกของวิกฤติที่ไทยกำลังเผชิญหน้ารวมทั้งสิ้น 6 ประการ เพื่อยุติความขัดแย้งและหาจุดร่วมให้แก่ความคิดเห็นที่แตกต่างกันของคนในสังคม