ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

แนวคิด-ปรัชญา

แนวคิดและปรัชญาทางการเมืองของปรีดี

แนวคิด-ปรัชญา
11
ตุลาคม
2565
การปฏิวัติ 2475 ได้สร้างสังคมใหม่ที่อำนาจสูงสุดการปกครองเป็นของพลเมืองทุกคนซึ่งครั้งหนึ่ง พวกเขาเป็นเพียงผู้อาศัยได้กลายมาเป็นเจ้าของประเทศนั้น การเปลี่ยนแปลงหลักการไปจากระบอบราชาธิปไตยหาได้รับการยอมรับจากกลุ่มอภิชนคนชั้นสูง ผู้มีความคิดแบบอนุรักษนิยมที่เชื่อว่าความไม่เสมอภาคเป็นเรื่องธรรมชาติ สังคมไทยมีจารีตการปกครองโดยชนชั้นสูงมาตลอดประวัติศาสตร์ไม่สมควรเปลี่ยนแปลงให้กลับตาลปัตร จึงนำไปสู่การต่อต้านการปฏิวัติ 2475 โดยกลุ่มอภิชนคนชั้นสูง หรือ กบฏบวรเดช (2476)[1]
แนวคิด-ปรัชญา
10
ตุลาคม
2565
เดือนตุลาคมของไทยทุกปี มักถูกจดจำทั้งในฐานะเดือนแห่งชัยชนะของประชาธิปไตย โดยมีเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516 อันเป็นการขับไล่ระบอบเผด็จการทหารเป็นจุดอ้างอิง ขณะเดียวกันก็มักเป็นเดือนแห่งความทรงจำว่าด้วยการก่ออาชญากรรมโดยรัฐ โดยมีเหตุการณ์สังหารหมู่นักศึกษาและประชาชน ในวันที่ 6 ตุลาคม 2519 เป็นสิ่งที่ให้หวนระลึกถึง 
แนวคิด-ปรัชญา
8
ตุลาคม
2565
เสวนา PINTO TALK 8 : 46 ปี 6 ตุลา 19 ในมุมมองของคนรุ่นใหม่ “เหลียวหลัง 6 ตุลา แลหน้าสังคมไทย” พร้อมกันนี้ ศ.ดร.ธงชัย วินิจจะกูล ชวนคุย ชวนคิด ในหัวข้อ “A Reflection on the Moment of Silence”
แนวคิด-ปรัชญา
5
ตุลาคม
2565
ท่ามกลางปัจจัยทางเศรษฐกิจอื่นๆ ที่รายล้อมชีวิตของแรงงาน อัตราดังกล่าวเพียงพอต่อการดำรงชีวิตหรือไม่ ซึ่งผู้เขียนชวนสำรวจบทวิเคราะห์การเพิ่มอัตราค่าแรงขั้นต่ำ โดยได้เสนอทิศทางการกำหนดอัตราค่าจ้าง อันมีตัวแปรสำคัญ คือ "คุณภาพชีวิต" ที่มีมาตรฐานของแรงงานอยู่ในสมการนี้ด้วย เพื่อให้อัตราค่าแรงเป็นส่วนที่ช่วยในการยกระดับความเป็นอยู่ของแรงงานให้ดีมากยิ่งขึ้น
แนวคิด-ปรัชญา
4
ตุลาคม
2565
เรื่องราวเบื้องหลังการทำงานของ 'ศาสตราจารย์พิเศษ อิสสระ นิติทัณฑ์ประภาศ' อันเป็นแนวทางที่ได้รับอิทธิพลจาก 'นายปรีดี พนมยงค์' ผู้เป็นลุง โดยยึดถือนายปรีดีเป็นต้นแบบในการปฏิบัติงานและดำเนินชีวิตส่วนตัว นับตั้งแต่เรื่องการศึกษา การสร้างครอบครัว ตลอดจนการทำงานเพื่อผลประโยชน์ของชาติ
แนวคิด-ปรัชญา
29
กันยายน
2565
การประเมินระดับประชาธิปไตยโดย Democracy Index ได้อาศัยตัวชี้วัดหลายเรื่อง โดยมีจุดร่วมสำคัญอยู่ใน 5 ประเด็น ได้แก่ กระบวนการเลือกตั้ง บทบาทของรัฐบาล การมีส่วนร่วมทางการเมือง วัฒนธรรมทางการเมือง และเสรีภาพของพลเมือง ผลที่ตามมา คือ ในกลุ่มประเทศที่ได้รับการเมินให้เป็น ประชาธิปไตยสูง นั้น ส่วนใหญ่ใช้แนวทางเศรษฐกิจและการเมืองแบบสังคมนิยมประชาธิปไตย
แนวคิด-ปรัชญา
27
กันยายน
2565
ในปัจจุบันไฟฟ้าเป็นสิ่งจำเป็นต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์ ในฐานะเป็นปัจจัยสำคัญที่ช่วยในการอำนวยความสะดวกให้กับมนุษย์ในชีวิตประจำวัน การที่ราคาค่าไฟฟ้าเพิ่มขึ้นย่อมกระทบต่อชีวิตประชาชน
แนวคิด-ปรัชญา
24
กันยายน
2565
ประเทศไทยเปลี่ยนแปลงการปกครองมาเป็นระบอบประชาธิปไตยจนถึงปัจจุบันเป็นเวลา 72 ปี[1] แต่บ้านเมืองเป็นประชาธิปไตยอย่างแท้จริงในบางครั้งบางคราวเท่านั้น เพราะได้มีการปฏิวัติรัฐประหารกันมาตลอดเวลาไม่ต่ำกว่า 20 ครั้ง ทั้งที่ทำสำเร็จบ้าง ไม่สำเร็จบ้าง บางครั้งมีการปฏิวัติแล้ว ก็มีการบริหารราชการแผ่นดินกันในระบอบเผด็จการ ไม่มีบทบัญญัติรัฐธรรมนูญใช้บังคับ ในบางยุคมีการบริหารราชการแผ่นดินแบบกึ่งเผด็จการและกึ่งประชาธิปไตย ทั้งนี้สุดแต่จิตสำนึกของผู้ยึดอำนาจแต่ละคน ในยุคปัจจุบันถือได้ว่าเป็นยุคประชาธิปไตยเต็มรูปแบบ ประชาชนมีความตื่นตัวทางการเมือ
แนวคิด-ปรัชญา
23
กันยายน
2565
ชวนสำรวจตำแหน่งแห่งที่ของประชาธิปไตยไทย ภายใต้บริบทการเมืองโลกที่มีการขับเคี่ยวทางอุดมการณ์ตลอดเวลา ผ่านการประเมินตัวแปรชี้วัดที่หลากหลายซึ่งฉายภาพความเป็นประชาธิปไตยของรัฐไทย รวมถึงจุดยืนที่สะท้อนผ่านการแบ่งชนิดของรัฐในสถานการณ์ที่ประชาธิปไตยไทยถดถอย
แนวคิด-ปรัชญา
21
กันยายน
2565
พลังทางวัฒนธรรมที่มีอิทธิพลต่อความคิดของมนุษย์ ด้วยการอภิปรายรากฐานเชิงสัญลักษณ์และทฤษฎีของสันติวัฒนธรรม รวมถึงสาเหตุความรุนแรงทางตรงและความรุนแรงเชิงโครงสร้างที่จำแนกไว้ทั้งสิ้น 5 ระดับ พร้อมลู่ทางไปสู่การสร้างสันติภาพ โดยอาศัยรากฐานทางวัฒนธรรมที่เกิดจากศาสนาและความเชื่ออันหลากหลายในเอเชีย และคำวิพากษข้อจำกัดของแนวคิดสันติวัฒนธรรม
Subscribe to แนวคิด-ปรัชญา