แนวคิด-ปรัชญา
แนวคิดและปรัชญาทางการเมืองของปรีดี
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
9
พฤศจิกายน
2565
ลักษณะเฉพาะของรัฐประหาร 8 พฤศจิกายน 2490 นั้น เมื่อประกอบรวมกันจึงฉายภาพให้เห็นถึงตำแหน่งแห่งที่ของเหตุการณ์ดังกล่าวในสายธารประวัติศาสตร์ไทย ที่ได้ส่งผ่านมายังฐานคิดของคนในยุคหลังจากเหตุการณ์นั้น อันมีผลต่อความเคลื่อนไหวทางการเมืองไทยสืบมาจนกระทั่งปัจจุบัน
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
4
พฤศจิกายน
2565
"จาก “ควบรวม” ถึง “ผูกขาด” ประเมินความเสี่ยงที่สังคมไทยต้องแบกรับ" โดยชวนให้พิจารณาถึงการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ในอุตสาหกรรมโทรคมนาคม คือ การผนวกรวมของสองกลุ่มทุนใหญ่เข้าด้วยกัน โดยผู้เขียนชี้ให้เห็นถึงสภาพการแข่งขันทางธุรกิจก่อนเกิดกรณีดังกล่าว ที่ฉายภาพการแข่งขันเสรีอย่างขับเคี่ยวโดยกลุ่มทุนต่างๆ ซึ่งเป็นไปตามกลไกตลาด
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
1
พฤศจิกายน
2565
หน้าที่ประการแรกและเป็นประการสำคัญที่สุดของรัฐธรรมนูญ คือการเป็น “บทบัญญัติแห่งการจัดตั้งรัฐ” ดังนั้น ในมาตราแรกๆ ของรัฐธรรมนูญ มักจะกำหนดรูปแบบของรัฐ และกล่าวอ้างถึงที่มาแห่ง “อำนาจสูงสุด” ของประเทศนั้น
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
27
ตุลาคม
2565
รากฐานรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 ที่ได้รับการขนานนามว่า "รัฐธรรมนูญฉบับประชาชน" โดยถือกำเนิดขึ้นด้วยผลสืบเนื่องจากฉันทามติของประชาชนในสังคมเพื่อแก้ระบบและกลไกการเมืองที่เคยถูกแทรกแซงโดยกองทัพ
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
26
ตุลาคม
2565
สำรวจการต่อสู้ทางชนชั้นของผู้ถูกกดขี่ภายใต้แรงกดดันจากชนชั้นปกครอง ซึ่งแม้การกดปราบผู้เห็นต่างจะเป็นไปอย่างเข้มข้นจนเป็นอุปสรรคต่อการเคลื่อนไหวของภาคประชาชน ทว่า การขัดขืนของผู้กดขี่มิได้ยุติลงเพียงเท่านั้น แต่ได้ปรับกระบวนทัศน์กลายเป็น "เรื่องเล่าหลังม่าน" ที่เปิดเปลือยความโหดร้ายของชนชั้นผู้ปกครองอย่างแยบยล
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
25
ตุลาคม
2565
“รัฐธรรมนูญ” มีความสำคัญในทางการเมือง ในฐานะเป็นกฎหมายสูงสุดในการปกครองประเทศ และรัฐธรรมนูญยังมีบทบาทสำคัญในการกำหนดอุดมคติที่ต้องการให้เกิดขึ้นภายในประเทศด้วยเช่นกัน
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
18
ตุลาคม
2565
“การบริจาค” ดูเหมือนจะเป็นสิ่งที่คู่กับสังคมไทย เราไม่สามารถปฏิเสธได้ว่า การบริจาคและการทำการกุศลนั้นเป็นเรื่องที่ดีและเป็นอีกวิธีการหนึ่งที่ช่วยให้สังคมดีขึ้น และสร้างความเป็นภราดรภาพ (ให้รู้สึกเหมือนเป็นพี่น้องร่วมชาติกัน) ให้เกิดขึ้นภายใต้การอยู่ร่วมกัน มายาคติที่ว่านี้ส่วนหนึ่งนั้นอาจมาจากอิทธิพลของพุทธศาสนาและความเชื่อเรื่องบาป-บุญ
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
17
ตุลาคม
2565
ไม่มีประเทศใดบนโลกใบนี้ จะอนุญาตให้มีการปล่อยให้อาชญากรรมโดยรัฐ ลอยนวลพ้นผิดได้อย่างเปิดเผย โฉ่งฉ่าง เฉกเช่นที่เกิดขึ้นกับประเทศไทย เราคงไม่ต้องกล่าวซ้ำว่า เกิดอาชญากรรมโดยรัฐมากน้อยเพียงใด
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
Subscribe to แนวคิด-ปรัชญา
12
ตุลาคม
2565
เมื่อเข้าสู่ช่วงเดือนตุลาคม เหตุการณ์สำคัญที่จะต้องหยิบมาพูดถึงคือ เหตุการณ์ในวันที่ 14 ตุลาคม และ 6 ตุลาคม ซึ่งเป็นเหตุการณ์สำคัญในหน้าการเมืองไทย โดยเฉพาะอย่างยิ่งความเลวร้ายที่เกิดขึ้นในเหตุการณ์ทั้งสอง ซึ่งเป็นภาพสะท้อนของการลอยนวลพ้นผิดที่เกิดขึ้นในสังคมไทย ซึ่งการลอยนวลพ้นผิดนี้สร้างบาดแผลให้กับสังคมไทยในหลายๆ ด้าน ทั้งก่อให้เกิดความรู้สึกไม่เป็นธรรม อีกทั้งยังถ่างช่องว่างของความเหลื่อมล้ำให้กว้างขึ้น