ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

แนวคิด-ปรัชญา

แนวคิดและปรัชญาทางการเมืองของปรีดี

แนวคิด-ปรัชญา
4
กันยายน
2565
การสนับสนุนอุตสาหกรรมเกมเพื่อสร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจให้แก่ประเทศ ท่ามกลางการขยายตัวของอุตสาหกรรมเกมของโลกและไทย โดยในปี 2564 อุตสาหกรรมเกมมีมูลค่าทั่วโลกอยู่ราวๆ 175.8 พันล้านเหรียญดอลลาร์สหรัฐฯ ซึ่งมีมูลค่าสูงกว่าสื่อบันเทิงประเภทเพลงและภาพยนตร์ทั่วโลก 2-3 เท่า
แนวคิด-ปรัชญา
3
กันยายน
2565
หนึ่งในวิธีการสร้างวัฒนธรรมการอ่านที่แข็งแรง คือ การช่วยส่งเสริมให้ประชาชนสามารถเข้าถึงแหล่งการอ่านและหนังสือได้อย่างทั่วถึง
แนวคิด-ปรัชญา
30
สิงหาคม
2565
วันที่ 30-31 สิงหาคมของทุกปี เป็นวันที่ทั่วโลกถือเป็น วันแห่งการรำลึกถึงเหยื่อของการบังคับสูญหายสากล (International Day of Enforced or Involuntary Disappearances)
แนวคิด-ปรัชญา
29
สิงหาคม
2565
“ความเหลื่อมล้ำ” เป็นปัญหาสำคัญและเป็นจุดเริ่มต้นของปัญหาอื่นๆ ในสังคมไทย และหนึ่งในปัญหาที่เกิดขึ้นในสังคมไทย คือ ปัญหาการเข้าถึงโอกาสทางการศึกษา ซึ่งมีความสำคัญในฐานะเครื่องมือในการขยับสถานะทางสังคม
แนวคิด-ปรัชญา
22
สิงหาคม
2565
ช่วงตอบคำถามในงานเสวนา PRIDI Talks #17: 77 ปี วันสันติภาพไทย "ความคิดสันติภาพของปรีดี พนมยงค์ กับ สันติภาพของโลกในปัจจุบัน" มีคำถามจากผู้ชมทั้งช่องทางออนไลน์และในหอประชุม
แนวคิด-ปรัชญา
22
สิงหาคม
2565
'รัศม์ ชาลีจันทร์' กล่าวถึงการวางรากฐานแนวคิดสันติภาพของ 'นายปรีดี พนมยงค์' ผ่านนโยบายการต่างประเทศ ซึ่งถือเป็นคุณูปการที่สืบเนื่องนับตั้งแต่การอภิวัฒน์สยาม 2475
แนวคิด-ปรัชญา
21
สิงหาคม
2565
ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยทางเศรษฐกิจกับสันติภาพและสงคราม มีความสัมพันธ์กันอย่างชัดเจน ซึ่งมีงานวิจัยและงานทางวิชาการที่ยืนยัน เวลาที่จะเกิดสงครามใหญ่มันจะเกิดสภาวะวิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจ และสงครามก็นำมาสู่วิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจ
แนวคิด-ปรัชญา
20
สิงหาคม
2565
มนุษย์เราส่วนใหญ่ต้องการสันติภาพ แต่ผู้นำส่วนใหญ่มักแต่คิดเรื่องของตนเอง โดยพวกเขาชอบสร้างความฝันที่ส่งผลกระทบให้เกิดสงคราม
แนวคิด-ปรัชญา
19
สิงหาคม
2565
'ส. ศิวรักษ์' กล่าวถึงคุณูปการของ 'นายปรีดี พนมยงค์' ผ่านมุมมองแนวคิดสันติภาพที่นายปรีดีได้ยึดถือตลอดชีวิตการทำงานเพื่อชาติและราษฎร ตลอดจนกระทั่งผลงานชิ้นสุดท้ายที่นายปรีดีได้สร้างไว้ คือ "วันสันติภาพไทย" อันเป็นดอกผลจากการดำเนินงานภารกิจกู้ชาติ ในนามของ "ขบวนการเสรีไทย" ณ ช่วงเวลาสงครามโลกครั้งที่ 2
แนวคิด-ปรัชญา
9
สิงหาคม
2565
ฐานคิดว่าด้วยสันติภาพผ่านนโยบายการต่างประเทศที่เกิดขึ้นหลังการอภิวัฒน์สยาม ภายใต้การดำเนินงานในรัฐบาลของพระยาพหลฯ ซึ่งมีนายปรีดี เป็น รมต.กระทรวงการต่างประเทศในขณะนั้น ซึ่งตั้งอยู่ในบนหลักของการรักษาดุลแห่งอำนาจซึ่งถือเป็นรากฐานสำคัญที่ส่งผลต่อการกำหนดนโยบายต่างประเทศก่อนที่สงครามโลกครั้งที่ 2 จะเปิดฉากในช่วง 2 ทศวรรษต่อมา
Subscribe to แนวคิด-ปรัชญา