ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

แนวคิด-ปรัชญา

แนวคิดและปรัชญาทางการเมืองของปรีดี

แนวคิด-ปรัชญา
22
มิถุนายน
2565
‘ปรีดี พนมยงค์’ เป็นผู้เสนอให้เรียกการเปลี่ยนแปลงการปกครองเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 ว่า “อภิวัฒน์” ซึ่งมาจากคำว่า “อภิ” หมายถึง ยิ่ง วิเศษ เหนือ กับคำว่า “วัฒน์” หมายถึง ความเจริญ ความงอกงาม
แนวคิด-ปรัชญา
16
มิถุนายน
2565
ณ ย่ำรุ่งของวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 เกิดการอภิวัฒน์สยามโดยคณะราษฎร พระยาพหลพลพยุหเสนา อ่านแถลงการณ์คณะราษฎรฉบับแรก ณ ลานพระบรมรูปทรงม้า
แนวคิด-ปรัชญา
15
มิถุนายน
2565
การขับเคลื่อนเพื่อรับรองการ “สมรสเท่าเทียม” ในประเทศไทยไม่ใช่เรื่องใหม่ แต่เป็นกระบวนการที่ดำเนินมาอย่างต่อเนื่องเป็นเวลาประมาณเกือบ 10 ปี
แนวคิด-ปรัชญา
13
มิถุนายน
2565
บนหน้าประวัติศาสตร์ความเหลื่อมล้ำของไทย เลี่ยงไม่ได้ที่ต้องพิจารณาการถือครองที่ดิน เพราะเป็นปัจจัยการผลิตที่สำคัญ
แนวคิด-ปรัชญา
12
มิถุนายน
2565
“ความคิดเห็นไม่ตรงกัน การพนันจึงเกิดขึ้น”  นั่นคือคำกล่าวที่เรามักจะแว่วยินกันอยู่บ่อยหน  หากอีกหลายบรรทัดที่ผมกำลังจะบอกเล่าต่อไป  เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับการนัดประชุมวางแผนยึดอำนาจของกลุ่มผู้นำ คณะราษฎร ช่วงก่อนหน้าที่พวกเขาจะร่วมกันเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาสู่ระบอบรัฐธรรมนูญ เมื่อวันศุกร์ที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 ซึ่งการนัดประชุมแต่ละครั้งมีลักษณะเข้าทำนอง “แม้ความคิดเห็นจะตรงกัน แต่การพนันก็เกิดขึ้น”
แนวคิด-ปรัชญา
8
มิถุนายน
2565
จุดเริ่มต้นแห่งจิตสำนึกในการอภิวัฒน์สยามของนายปรีดี พนมยงค์นั้น เริ่มต้นขึ้นตั้งแต่วัยเยาว์ที่ถือกำเนิดมาในครอบครัวที่มีอาชีพชาวนา ได้ประสบชะตากรรมความยากลำบาก ได้เห็นชาวบ้านคนอื่นๆ ถูกเอารัดเอาเปรียบจากการทำนา
แนวคิด-ปรัชญา
2
มิถุนายน
2565
หากเราใช้เกณฑ์การให้สิทธิการเลือกตั้งที่เท่าเทียมกันโดยไม่จำกัดด้วยแตกต่างของรายได้ เพศสภาพ ชนชั้น ผิวสี หรือชาติพันธุ์ (Universal suffrage) เป็นตัวบ่งชี้ความเป็นประชาธิปไตยของประเทศนั้นๆ แล้ว สยามก็นับว่าเป็นประเทศแรกๆ ของโลกที่รับรองสิทธินี้คล้องจองไปกับโลกสากลที่ให้ความสำคัญการยกระดับความเท่าเทียมหญิง-ชาย เพื่อสร้างโลกที่ควรจะเป็น ฉะนั้น หากเปรียบเทียบช่วงเวลาที่ไทยเรารับรองสิทธินี้ คือ 1 ปี หลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475 พลเมืองหญิงชายต่างได้ใช้สิทธินี้อย่างเต็มภาคภูมิ บางกรณีก้าวหน้าไปไกลกว่าประเทศมหาอำนาจบางประเทศที่เราเสียเปรียบดุลอำนาจ โปรดดูตารางข้างล่าง  
แนวคิด-ปรัชญา
1
มิถุนายน
2565
ในบทความนี้ มาเริ่มนับหนึ่งกันใหม่กับ PDPA101 มาทำความเข้าใจกันอย่างถูกต้องว่าอะไรใช่หรืออะไรไม่ใช่ อะไรทำได้หรืออะไรทำไม่ได้ อะไรเป็นข้อยกเว้นและอะไรบ้างที่ต้องตระหนัก มาเข้าใจถึงความหมายที่ถูกต้องของกฎหมาย PDPA ที่มาของกฎหมาย จุดมุ่งหมายของการมีกฎหมาย PDPA ใครบ้างที่เป็นผู้ถูกคุ้มครอง PDPA ใช้กับเรื่องใดบ้าง เป็นต้น
แนวคิด-ปรัชญา
31
พฤษภาคม
2565
ยุคเผด็จการของจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ กับเหตุการณ์การประหารชีวิตของ ‘ครูครอง จันดาวงศ์’ และ ‘ครูทองพันธ์ สุทธิมาศ’ ที่ถูกตั้งข้อกล่าวหาว่าเป็นคอมมิวนิสต์และกบฏแบ่งแยกดินแดน โดยอาศัยมาตรา 17 คำพิพากษาที่มิได้ผ่านกระบวนการยุติธรรมหรือตรวจสอบความจริง ทำให้วันปลิดชีวิตของครูครองและครูทองพันธ์มาถึงอย่างรวดเร็วภายหลังการถูกจับกุมไม่ถึง 1 เดือน
แนวคิด-ปรัชญา
25
พฤษภาคม
2565
ช่วงถามตอบท้ายกิจกรรม PRIDI Talks #15: วันปรีดี พนมยงค์ 2565 "มุมมอง SDGs เพื่อการพัฒนาสู่ประชาธิปไตยสมบูรณ์"
Subscribe to แนวคิด-ปรัชญา