ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ข่าวสารและบทความ

แนวคิด-ปรัชญา
28
ตุลาคม
2566
ความจำเป็นของการปฏิรูปประกันสังคมและกองทุนประกันสังคม ในฐานะกองทุนขนาดใหญ่ที่ถือครองเม็ดเงินจำนวนมหาศาลในขณะเดียวกันก็ดูแลคนจำนวนกว่า 24 ล้านคนทั่วประเทศที่ปัจจุบันยังคงปรากฏข้อบกพร่องในหลากหลายด้าน
เกร็ดประวัติศาสตร์
28
ตุลาคม
2566
“ตำนาน.........รัฐธรรมนูญ” แสดงความคิดเห็นและวิพากษ์วิจารณ์ต่อรัฐธรรมนูญ ดังที่ปรากฏในหนังสือเนื่องในวันปรีดี พนมยงค์ 11 พฤษภาคม 2534 อันเป็นการรำลึกถึงคุณูปการที่คณะราษฎรได้สร้างไว้ ในขณะเดียวกัน ก็ชี้ให้เห็นถึงความด่างพร่อยของรัฐธรรมนูญ ณ ขณะนั้น
แนวคิด-ปรัชญา
27
ตุลาคม
2566
การแก้ไขปัญหาการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมไทย ด้วยการรื้อถอนมรดกและผลพวงจากเผด็จการอำนาจนิยมของทหารที่ครอบงำการเมืองไทยมาตลอดหลายสิบปี สืบเนื่องมาตั้งแต่รัฐประหารปี 2490 ด้วยการสนับสนุนต่อการร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ที่จำเป็นต้องยึดโยงกับประชาชนจึงเป็นสิ่งสำคัญและจำเป็นในห้วงเวลานี้
แนวคิด-ปรัชญา
26
ตุลาคม
2566
การถือลำดับชั้นทางสังคมไม่เคยปรากฏขึ้นว่ามีในสังคมปฐมสหการ แต่เมื่อสังคมทาส ศักดินา หรือธนานุภาพ (ระบบทุน) เกิดขึ้นมา คำเรียกและลำดับชั้นเหล่านี้ก็ล้วนจำต้องปรากฏออกมา และสัมพันธ์กับการถือครองปัจจัยการผลิต
บทบาท-ผลงาน
25
ตุลาคม
2566
รวบรวมผลงานเขียนของนายปรีดี พนมยงค์ที่สะท้อนให้เห็นถึงทัศนะและความคิดทางการเมืองของนายปรีดี ในช่วงทศวรรษ 2510 และเจาะไปถึงปัญหาความแตกต่าง ทั้งหลักการ ความคิด การเคลื่อนไหว และจุดตั้งต้นระหว่าง “คอมมิวนิสต์และสังคมนิยม”
แนวคิด-ปรัชญา
24
ตุลาคม
2566
ปรัชญาของความรู้และความหมายของ “วิทยาศาสตร์ประชาธิปไตย” ข้อควรพึงพิจารณา คำนึงถึง รวมทั้งการวิพากษ์วิจารณ์ถึงเผด็จการและการร่างรัฐธรรมนูญปี 59-60 ที่ไม่เป็นประชาธิปไตย
ชีวิต-ครอบครัว
22
ตุลาคม
2566
การเติบโตและการเปลี่ยนแปลงของสังคมจีน ผ่านมุมมองของเด็กหญิงคนหนึ่งที่มีโอกาสได้มีส่วนร่วมในกิจกรรมสำคัญของประเทศ ผ่านการเดินสวนสนามในครั้งนี้ ปลายรู้สึกตื่นเต้นและภูมิใจที่ได้เป็นส่วนหนึ่งของประวัติศาสตร์
เกร็ดประวัติศาสตร์
21
ตุลาคม
2566
ดร.ตั้ว มองว่าวิทยาศาสตร์เป็นปัจจัยสำคัญของการพัฒนาเศรษฐกิจที่จะเป็นรากฐานสร้างความมั่นคงถาวรให้กับประเทศชาติ ไม่ว่าจะในด้านกสิกรรม พานิชยกรรม อุตสาหกรรม รวมไปถึงในด้านการขนส่งที่ล้วนจำเป็นต้องปรับเปลี่ยนและทำให้วิทยาศาสตร์กลายเป็นหัวใจสำคัญของรากฐานในการศึกษา
เกร็ดประวัติศาสตร์
20
ตุลาคม
2566
กวินพร เจริญศรี นำเรื่องราว ปาฐกถา บทเพลง และบทสนทนาที่เกิดขึ้นภายในงาน “เจ้าฝันถึงโลกสีใด” 14 ตุลา จิตวิญญาณประชาธิปไตย เนื่องในวาระ 50 ปี 14 ตุลา โดยเรียบเรียงออกมาสู่ผู้อ่านอีกครั้งในรูปแบบบทความถึงบรรยากาศ ประเด็น และเนื้อหาสำคัญที่สมควรเน้นย้ำในฐานะของการรำลึก “50 ปี 14 ตุลา”
แนวคิด-ปรัชญา
19
ตุลาคม
2566
ศาลหรือองค์กรตุลาการเป็นองค์ประกอบหนึ่งที่ทำให้การทำรัฐประหารได้รับความชอบธรรม ส่งผลให้คณะรัฐประหารเหล่านั้นกลายเป็น “รัฏฐาธิปัตย์” และเนื่องด้วยเพราะประชาชนไม่ต่อต้านมากพอตุลาการจึงไม่อาจทานคณะรัฐประหารได้?