บทความ
บทความ เว็บไซต์สถาบันปรีดี พนมยงค์ PRIDI BANOMYONG INSTITUTE
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
1
มิถุนายน
2565
ในบทความนี้ มาเริ่มนับหนึ่งกันใหม่กับ PDPA101 มาทำความเข้าใจกันอย่างถูกต้องว่าอะไรใช่หรืออะไรไม่ใช่ อะไรทำได้หรืออะไรทำไม่ได้ อะไรเป็นข้อยกเว้นและอะไรบ้างที่ต้องตระหนัก มาเข้าใจถึงความหมายที่ถูกต้องของกฎหมาย PDPA ที่มาของกฎหมาย จุดมุ่งหมายของการมีกฎหมาย PDPA ใครบ้างที่เป็นผู้ถูกคุ้มครอง PDPA ใช้กับเรื่องใดบ้าง เป็นต้น
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
31
พฤษภาคม
2565
ยุคเผด็จการของจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ กับเหตุการณ์การประหารชีวิตของ ‘ครูครอง จันดาวงศ์’ และ ‘ครูทองพันธ์ สุทธิมาศ’ ที่ถูกตั้งข้อกล่าวหาว่าเป็นคอมมิวนิสต์และกบฏแบ่งแยกดินแดน โดยอาศัยมาตรา 17 คำพิพากษาที่มิได้ผ่านกระบวนการยุติธรรมหรือตรวจสอบความจริง ทำให้วันปลิดชีวิตของครูครองและครูทองพันธ์มาถึงอย่างรวดเร็วภายหลังการถูกจับกุมไม่ถึง 1 เดือน
บทความ • บทบาท-ผลงาน
30
พฤษภาคม
2565
เป็นที่ทราบกันดีว่า การดำเนินนโยบายตามหลัก 6 ประการของคณะราษฎร มาเกิดขึ้นได้จริง ก็เมื่อ พระยามโนปกรณ์นิติธาดา ออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ส่วนการผลักดันนโยบายตามปณิธาณของการอภิวัฒน์มาเกิดขึ้นอย่างเต็มกำลังก็เมื่อหลังเหตุการณ์ปราบกบฏบวรเดชจบลง อันถือเป็นความพยายามต่อสู้กับระบอบของผู้ศรัทธาในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ครั้งสุดท้าย
บทความ • ศิลปะ-วัฒนธรรม
29
พฤษภาคม
2565
ในบทความนี้ จะว่าด้วยเรื่องของสัตว์สองประเภท คือ นกและปลา ซึ่งมีการตั้งชื่อเรียกโดยใช้ชื่อของ ‘ศาสตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์’ ได้แก่ นกปรีดี, ปลาปล้องทองปรีดี และ นกเสรีไทยที่เคยได้นำเสนอไปแล้ว ทั้งนี้เพื่อเป็นเกียรติและเพื่อการรำลึกคุณูปการของท่านที่มีต่อชาติและราษฎรไทย
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
28
พฤษภาคม
2565
“หวอเหงียนย้าป” (VO NGUYEN GIAP) เกิดที่หมู่บ้านอานซา (AN XA) จังหวัดกว๋างบิ่นห์ เมื่อวันที่ 25 สิงหาคม ค.ศ. 1911
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
27
พฤษภาคม
2565
พ.ศ. 2565 นอกจากจะเป็นวาระ 90 ปีแห่งการอภิวัฒน์สยามแล้ว ยังมีอีกวาระสำคัญ นั่นก็คือ 90 ปีแห่งการก่อตั้งสวนโมกขพลาราม 'นริศ จรัสจรรยาวงศ์' ได้นำเสนอ คำสัมภาษณ์บางช่วงบางตอนถึงปฏิกิริยาของพุทธทาสภิกขุภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครองและ "เทศนาเทอดระบอบใหม่" ซึ่งผู้เขียนสันนิษฐานว่าเป็นการเทศนาที่ท่านอาจารย์ได้แสดงขึ้นที่โรงเรียนสารภีอุทิศ เมื่อวันที่ 27 ธ.ค. 2481
บทความ • บทบาท-ผลงาน
26
พฤษภาคม
2565
ในบทความนี้ ผู้เขียนนำเสนอในเรื่องของ "การประเมินบทบาทที่ปรึกษาต่างชาติ" ว่าเป็นอย่างไร ส่งผลแค่ไหนต่อความสำเร็จในการเจรจาสนธิสัญญาที่ไม่เป็นธรรมของรัฐบาลภายใต้ระบอบเดิม ซึ่งจากงานศึกษาของนักวิชาการที่ผู้เขียนหยิบยกมาพิจารณานั้นได้เสนอไว้ว่า "ที่ปรึกษาชาวต่างชาติหลายคนมิได้แสดงให้เห็นความสามารถเท่าที่ควร"
บทความ • บทบาท-ผลงาน
25
พฤษภาคม
2565
นายปรีดี พนมยงค์ นักเรียนกฎหมายวัยเพียง 19 ปีที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะและยังเรียนไม่จบ ได้ทำการขออนุญาตเป็นพิเศษต่อผู้พิพากษาเจ้าของคดี รับอาสาว่าความเป็นทนายแก้ต่างให้นายลิ่มซุ่นหงวน ในเวลานั้นได้เกิดการวิพากษ์วิจารณ์กันอย่างมาก ด้วยทนายอาสาผู้นี้นั้น ทั้งเรียนยังไม่จบและยังไม่เคยว่าความใดๆ มาเลยสักครั้งในชีวิต
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
25
พฤษภาคม
2565
ช่วงถามตอบท้ายกิจกรรม PRIDI Talks #15: วันปรีดี พนมยงค์ 2565 "มุมมอง SDGs เพื่อการพัฒนาสู่ประชาธิปไตยสมบูรณ์"
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
Subscribe to บทความ
24
พฤษภาคม
2565
สัจธรรมของระบอบประชาธิปไตยที่จะต้องมีการเรียนรู้และปรับเปลี่ยนอยู่ตลอดเวลา ประชาธิปไตยจึงต้องเปิดกว้างเพื่อให้เกิดกระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน โดยเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมกับการพัฒนา สาระสำคัญของการเข้าสู่ประชาธิปไตยสมบูรณ์ภายใต้เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน จึงเป็นการทำให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมกับกระบวนการพัฒนา