ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

บทความ

บทความ เว็บไซต์สถาบันปรีดี พนมยงค์ PRIDI BANOMYONG INSTITUTE

เกร็ดประวัติศาสตร์
8
สิงหาคม
2564
พ.ศ. 2489 ได้มีการตั้งชื่อ “นกเขียวก้านตองปีกสีฟ้า” หรือ “นกเขียวลออ” โดยสถาบันสมิธโซเนียน แห่งประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งนกชนิดนี้ถูกค้นพบโดย ‘เฮอร์เบิร์ต จี. เด็กแนน’
บทบาท-ผลงาน
5
สิงหาคม
2564
เบื้องหลังการก่อตั้งขบวนการเสรีไทย: คำให้การของนายปรีดี พนมยงค์ ในฐานะพยาน พ.ท. พระสารสาสน์พลขันธ์ จำเลยคดีอาชญากรสงคราม
บทบาท-ผลงาน
4
สิงหาคม
2564
ในบันทึกของรู้ทชิ้นนี้ได้กล่าวถึง "นโยบายสันติภาพของรัฐบาล" ที่ท่านเป็นผู้เขียนขึ้นและรวบรวมไว้เป็นเอกสารทางการเล่มหนึ่งที่ชื่อว่า “LE SIAM PACIFISTE” (สยามสันติภาพ)
บทบาท-ผลงาน
2
สิงหาคม
2564
‘หลวงประดิษฐ์มนูธรรม’ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง สมัย ‘พลตรี หลวงพิบูลสงคราม’ ผู้มีความคิดก้าวหน้าและมองการณ์ไกลว่าเมืองไทยในอนาคตการเศรษฐกิจจะต้องเจริญขึ้น จะต้องมีธนาคารชาติเพื่อควบคุมกิจการของธนาคารต่างๆ
บทบาท-ผลงาน
1
สิงหาคม
2564
เหตุแห่งการทำ “สนธิสัญญาเบาว์ริง” นั้นเป็นจุดเปลี่ยนของสยามในหลายลักษณะ ทั้งในเชิงเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และระบบราชการของประเทศ โดยหนึ่งในเรื่องที่มีความสำคัญเรื่องหนึ่งก็คือ “การเสียเอกราชทางการศาล”
เกร็ดประวัติศาสตร์
31
กรกฎาคม
2564
“สนธิสัญญาเบาว์ริง” หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ “หนังสือสัญญาทางพระราชไมตรีประเทศอังกฤษแลประเทศสยาม” ซึ่งจัดทำขึ้นระหว่างสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์ ซึ่งคนไทยมักจะเรียกว่าอังกฤษกับประเทศไทยหรือสยามในเวลานั้น
บทบาท-ผลงาน
30
กรกฎาคม
2564
ภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง ปัญหาสำคัญหนึ่งที่จำเป็นต้องได้รับการแก้ไขโดยเร็วคือปัญหาในด้านเอกราช เนื่องจากเอกราชที่ประเทศไทยมีอยู่นั้น ไม่ใช่เอกราชสมบูรณ์
แนวคิด-ปรัชญา
27
กรกฎาคม
2564
จนกระทั่งเกิดการเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475 การจัดการร่างกายที่ปราศจากลมหายใจด้วยวิธีการเผาในเมรุ ก็ถูกนำมาใช้กับราษฎรด้วยเหตุผลทางสุขอนามัยและการสร้างคุณค่าใหม่
แนวคิด-ปรัชญา
26
กรกฎาคม
2564
“สนธิสัญญาเบาว์ริง” เป็นเครื่องมือสำคัญในการเชื่อมโยงเศรษฐกิจสยามเข้ากับโลกเศรษฐกิจของยุโรป
เกร็ดประวัติศาสตร์
25
กรกฎาคม
2564
ว่าด้วยการเมืองเรื่องเสียดินแดนไทย ปัจจุบันคงมิใช่สิ่งที่ใครๆ กระมิดกระเมี้ยนศึกษาและอ้อมแอ้มแสดงความคิดเห็น
Subscribe to บทความ