ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

บทความ

บทความ เว็บไซต์สถาบันปรีดี พนมยงค์ PRIDI BANOMYONG INSTITUTE

บทสัมภาษณ์
11
สิงหาคม
2567
อนุชา จินตกานนท์ บุตรชายของอนันต์ จินตกานนท์ เสรีไทยสายสหรัฐอเมริกา เล่าถึงปากคำประวัติศาสตร์เกี่ยวกับเสรีไทยที่ตนเองได้รับรู้จากครอบครัวในวัยเยาว์จนถึงวัยหนุ่มซึ่งเป็นบันทึกความทรงจำล้ำค่า
บทบาท-ผลงาน
11
สิงหาคม
2567
ปรีดี พนมยงค์ เขียนถึงที่มา สาเหตุ และบริบาทของการเมืองไทยยุคสงครามอินโดจีน-ฝรั่งเศส โดยบันทึกประวัติศาสตร์ถึงนโยบายของรัฐบาล การเมืองระหว่างประเทศในขณะนั้น และกระบวนทัศน์ของตนเองต่อกรณีเรียกร้องดินแดนคืนจากฝรั่งเศส
แนวคิด-ปรัชญา
10
สิงหาคม
2567
กลไกประชาธิปไตยเป็นสิ่งสำคัญอย่างหนึ่งที่เหล่านักการเมืองควรจะยึดถือเอาไว้ เพื่อสร้างความเป็นธรรมให้กับระบอบทางการปกครองที่ผู้มีอำนาจสามารถก่อร่างสร้างตัวตนแห่งความชั่วร้ายทางการเมืองขึ้นมาทำร้ายคู่แข่งทางการเมือง
เกร็ดประวัติศาสตร์
9
สิงหาคม
2567
วิเชียร วัฒนคุณ อดีตประธานกรรมการบริหารสถาบันปรีดี พนมยงค์ ผู้เสนอชื่อปรีดี พนมยงค์ให้ได้รางวัลยูเนสโก เป็นเสมือนผู้ปิดทองหลังพระ และมีความศรัทธาต่ออุดมคติทางสังคมการเมืองของปรีดีโดยได้ให้สัมภาษณ์เกี่ยวกับเรื่องดังกล่าวไว้ในบทความชิ้นนี้
เกร็ดประวัติศาสตร์
8
สิงหาคม
2567
ประวัติชีวิตของทวี จุลละทรัพย์ ช่วงที่เข้าร่วมปฏิบัติการในขบวนการเสรีไทยสมัยสงครามโลก ครั้งที่ 2 ซึ่งทวีเป็นนายทหารอากาศที่มีอุดมคติว่า “ชาติอยู่เหนือสิ่งอื่นใด”
บทบาท-ผลงาน
7
สิงหาคม
2567
ปรีดี พนมยงค์ เสนอประเด็นเรื่องหลัก 6 ประการที่หนังสือชีวิต 5 แผ่นดินของข้าพเจ้าโดยนายประยูร ภมรมนตรี โดยชี้ว่าข้อเท็จจริงที่แท้นั้น นายประยูรได้ปฏิเสธการดำเนินนโยบายตามหลัก 6 ประการของคณะราษฎร
บทบาท-ผลงาน
6
สิงหาคม
2567
นายปรีดี พนมยงค์ เสนอว่าในบริบทสงครามโลก ครั้งที่ 2 ซึ่งเเผด็จการฟาสซิสต์เรืองอำนาจในประเทศฝ่ายอักษะ พบว่าในไทยนั้นรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม ที่เดิมยึดหลัก 6 ประการและสันติภาพได้มีนายประยูร ภมรมนตรี และหลวงวิจิตรวาทการ หนุนเสริมให้จอมพล ป. เอาอย่างฮิตเลอร์
บทบาท-ผลงาน
5
สิงหาคม
2567
นโยบายสันติภาพระหว่าง 3 เดือนแรกของรัฐบาลซึ่งนายพันเอกหลวงพิบูลสงครามเป็นนายกรัฐมนตรีโดยมีนายปรีดี พนมยงค์ เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังซึ่งรัฐบาลยังยึดหลัก 6 ประการในการดำเนินนโยบาย
เกร็ดประวัติศาสตร์
4
สิงหาคม
2567
ข้อเขียนของนายปรีดี พนมยงค์ ที่เขียนถึงประวัติชีวิตนายซิม วีระไวทยะอย่างละเอียดในหนังสือที่พิมพ์แจกในงานพระราชทานเพลิงศพนายซิม วีระไวทยะ วัดมกุฏกษัตริยาราม เมื่อ พ.ศ. 2486 ซึ่งการเขียนเป็นแบบอักขรวิธีในยุคนั้น
แนวคิด-ปรัชญา
4
สิงหาคม
2567
การสำรวจเศรษฐกิจในชนบทแห่งสยามโดยคาร์ล ซี. ซิมเมอร์แมน เป็นผลงานการแปลชิ้นสำคัญของนายซิม วีระไวทยะ เป็นการสำรวจเศรษฐกิจสยามสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์ฉบับสมบูรณ์ชิ้นแรกที่แสดงให้เห็นปัญหาทางเศรษฐกิจ และสังคมของชาวสยามในภูมิภาค
Subscribe to บทความ