ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

บทความ

บทความ เว็บไซต์สถาบันปรีดี พนมยงค์ PRIDI BANOMYONG INSTITUTE

เกร็ดประวัติศาสตร์
5
พฤษภาคม
2568
การเข้าร่วมสงครามโลกครั้งที่ 2 ของไทยข้างญี่ปุ่น จึงเป็นจุดเปลี่ยนสำคัญที่กระทบต่ออธิปไตยและหลักประชาธิปไตยของชาติ ที่ไม่สามารถทำให้ความสัมพันธ์ต่อประเทศสัมพันธมิตรดีขึ้นได้
เกร็ดประวัติศาสตร์
4
พฤษภาคม
2568
นายปรีดี พนมยงค์ ได้ช่วยให้พระประศาสน์พิทยายุทธ พ้นจากความขัดแย้งทางการเมืองด้วยการผลักดันให้ดำรงตำแหน่งอัครราชทูตไทยประจำกรุงเบอร์ลินและช่วยเหลือบุตรชาย ในยามลำบาก
เกร็ดประวัติศาสตร์
3
พฤษภาคม
2568
ปัญหาการจำกัดสิทธิเสรีภาพสื่อที่เกิดในทุกยุคสมัย โดยเฉพาะในช่วงที่ประเทศไม่เป็นประชาธิปไตยที่นำไปสู่การถูกจำกัดเสรีภาพจากกฎหมายและคำสั่งรัฐ และปัญหาการซับซ้อนของกฎหมาย และอำนาจของพนักงานการพิมพ์ที่ต้องตีความเอง
แนวคิด-ปรัชญา
3
พฤษภาคม
2568
กุหลาบ สายประดิษฐ์ วิจารณ์การระบาดของโรคหวาดกลัวคอมมิวนิสต์ในอเมริกาหลังสงครามโลกครั้งที่สอง ซึ่งนำไปสู่การตรวจสอบประชาชนจำนวนมากอย่างไม่มีเหตุผลชัดเจน และนักการเมืองบางกลุ่มใช้กระแสนี้เพื่อผลประโยชน์ส่วนตัว
วันนี้ในอดีต
2
พฤษภาคม
2568
เนื่องในโอกาสครบรอบ 42 ปีวันอสัญกรรมของศาสตราจารย์ ดร. ปรีดี พนมยงค์ กองบรรณาธิการจึงเสนอบทกวีอาลัยคัดสรร 3 ชิ้น โดย วิสา คัญทัพ, จริย์วัฒน์ สันตะบุตร และเฉินซัน ที่มีคุณค่าทางประวัติศาสตร์และวรรณศิลป์ อีกทั้งข้อเขียนอาลัยอื่น ๆ ใน “มิตรกำสรวล”
เกร็ดประวัติศาสตร์
2
พฤษภาคม
2568
รัฐบาลไทยประกาศนโยบายรักษาความเป็นกลางและไม่ฝักใฝ่ฝ่ายใด พร้อมยืนยันเอกราชของชาติเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ และพยายามรักษาความสัมพันธ์แบบเป็นมิตรทั้งกับญี่ปุ่นและอังกฤษ ในสถานการณ์สงครามที่ตึงเครียดยิ่งขึ้น
ชีวิต-ครอบครัว
2
พฤษภาคม
2568
2 พฤษภาคม วาระอสัญกรรม ศาสตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์ ผู้อภิวัฒน์สยามและรัฐบุรุษอาวุโส
เกร็ดประวัติศาสตร์
1
พฤษภาคม
2568
หลวงสุขุมนัยประดิษฐคือหนึ่งในผู้มีบทบาทสำคัญในขบวนการเสรีไทย ในฐานะอดีตนักเรียนสหรัฐฯ การปฏิบัติภารกิจทั้งในสงครามและการทูตของท่านมีส่วนช่วยให้ไทยรอดพ้นจากการถูกปฏิบัติในฐานะประเทศผู้แพ้สงคราม
บทบาท-ผลงาน
1
พฤษภาคม
2568
เนื่องในวันแรงงาน ขอนำเสนอเค้าโครงเศรษฐกิจ หมวด 4 : แรงงานที่สูญเสียไปและพวกหนักโลกข้อเขียนนี้เสนอว่าแรงงานจำนวนมากของชาติถูกใช้ไปอย่างไร้ประสิทธิภาพ เพราะระบบเศรษฐกิจที่ปล่อยให้เอกชนต่างคนต่างทำ
เกร็ดประวัติศาสตร์
30
เมษายน
2568
ชีวิตของอองซานซูจี วีรสตรีผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพในฐานะนักต่อสู้เพื่อประชาธิปไตย แต่ในบั้นปลายชีวิตกลับต้องถูกจองจำอีกครั้งท่ามกลางคำครหาและความโดดเดี่ยว สถานการณ์ของเธอว่าเปรียบเหมือน "Déjà Vu" แห่งโศกนาฏกรรมทางเมืองที่ไม่จบสิ้น
Subscribe to บทความ