ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

บทความ

บทความ เว็บไซต์สถาบันปรีดี พนมยงค์ PRIDI BANOMYONG INSTITUTE

บทบาท-ผลงาน
3
มิถุนายน
2567
อุดมการณ์และการจัดตั้งของคณะราษฎร ตอนที่ 1 เสนอให้เห็นการสร้างอุดมการณ์ของคณะราษฎรผ่านนโยบาย และสัญลักษณ์โดยเฉพาะการดำเนินตามหลัก 6 ประการซึ่งคณะราษฎรเร่งสร้างระบอบใหม่ด้วยการใช้เครื่องมือเหล่านี้เป็นหลัก
แนวคิด-ปรัชญา
2
มิถุนายน
2567
กุหลาบ สายประดิษฐ์ กล่าวถึงความหมายและขอบเขตของเสรีภาพตามหลักกฎหมายรัฐธรรมนูญและกฎหมายอื่นๆ รวมทั้งวิพากษ์วิจารณ์ข้อบกพร่องของกฎหมายบางฉบับที่ละเมิดเสรีภาพของประชาชน และเสนอแนวทางในการกำหนดขอบเขตเสรีภาพที่เหมาะสม
บทบาท-ผลงาน
1
มิถุนายน
2567
พล.ท.ประยูร ภมรมนตรี เขียนในหนังสือว่าการเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475 เกิดขึ้นได้เพราะตนเป็นผู้สำคัญ ในขณะที่ปรีดี พนมยงค์โต้แย้งว่าเป็นผลจากความร่วมมือของคณะราษฎรและประชาชน และพล.ท.ประยูรดูหมิ่นเพื่อนร่วมคณะราษฎรคนอื่นๆ
เกร็ดประวัติศาสตร์
31
พฤษภาคม
2567
ครอง จันดาวงศ์ เป็นผู้นำชาวนาดงพระเจ้าเคลื่อนไหวทางการเมือง ถูกประหารชีวิตปี 2504 หลังจากนั้นชาวนาจำนวนมากหนีเข้าป่าร่วมพรรคคอมมิวนิสต์ต่อสู้ด้วยกำลังอาวุธ เขตดงพระเจ้า จึงเป็นจุดเริ่มต้นการต่อสู้ของพคท. ในอีสาน
บทบาท-ผลงาน
30
พฤษภาคม
2567
บทความนี้วิเคราะห์แนวคิดของปรีดี พนมยงค์ในการปฏิรูประบบการปกครองท้องถิ่นหลังเปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นประชาธิปไตย โดยมีจุดประสงค์เพื่อกระจายอำนาจและให้ท้องถิ่นมีสิทธิในการปกครองตนเอง แต่ก็ยังมีข้อจำกัดในทางปฏิบัติ
เกร็ดประวัติศาสตร์
29
พฤษภาคม
2567
วิลาศ มณีวัต นักเขียนไทยผู้มีผลงานหลากรูปแบบ ครบรอบ100 ปี 16 พ.ค. 67 เคยทำงานสื่อมวลชนหลายตำแหน่ง เคยกล่าวถึงปรีดี พนมยงค์ ว่า "มันสมอง" คณะราษฎร ผลงานเด่นสายลมแสงแดด
บทบาท-ผลงาน
28
พฤษภาคม
2567
การเปิดเสรีทางการค้าในสยามช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 19 ทำให้การปลูกข้าวเพื่อการค้าขยายตัว แต่ชาวนายังคงยากจนเนื่องจากขาดการปฏิรูปโครงสร้างที่ดิน เทคนิคการผลิต และระบบภาษี ผลประโยชน์ตกอยู่กับนายทุนและขุนนางมากกว่า
แนวคิด-ปรัชญา
27
พฤษภาคม
2567
หลักฐานการสนทนาระหว่างนายปรีดี พนมยงค์ และท่านพุทธทาสถึงหลักการของโครงการจัดตั้งสถานที่สำหรับใช้ประโยชน์ในด้านการฝึกปฏิบัติตนของพุทธศาสนิกชนตามหลักของพุทธศาสนา
แนวคิด-ปรัชญา
26
พฤษภาคม
2567
กุหลาบ สายประดิษฐ์ วิพากษ์วิจารณ์เรื่องการฟื้นฟูระบบบรรดาศักดิ์โดยระบุว่าขัดแย้งกับหลักเสรีภาพและภราดรภาพที่คณะราษฎรเคยให้สัญญาไว้ และเป็นการย้อนกลับความคิดของตนเองเมื่อเปลี่ยนแปลงการปกครอง
ศิลปะ-วัฒนธรรม
25
พฤษภาคม
2567
มนัส จรรยงค์ คือ "ราชาเรื่องสั้น" ชาวเพชรบุรี มีผลงานกว่า 1,000 เรื่อง สะท้อนวิถีชีวิตคนไทยอย่างแท้จริง เช่น "ครูแก" การจัดงานรำลึกถึงครั้งนี้ เป็นการเชิดชูเกียรติและสานต่อมรดกทางวรรณกรรมไทยที่มีคุณค่าสูง
Subscribe to บทความ