บทความ
บทความ เว็บไซต์สถาบันปรีดี พนมยงค์ PRIDI BANOMYONG INSTITUTE
บทความ • บทบาท-ผลงาน
12
กันยายน
2567
บันทึกประกอบคำประท้วงกรณีหนังสือชีวิต 5 แผ่นดินฯ ตอนที่ 13 วิเคราะห์เรื่องเค้าโครงการเศรษฐกิจโดยนายปรีดี พนมยงค์ ชี้ว่าในหนังสือชีวิต 5 แผ่นดินฯ มีข้อมูลคลาดเคลื่อนเพราะนายประยูร ภมรมนตรีไม่ได้ทำให้เค้าโครงการเศรษฐกิจล้มเลิก
บทความ • บทบาท-ผลงาน
11
กันยายน
2567
การประชุมกรรมาธิการสอบสวนว่าหลวงประดิษฐมนูธรรม เปนคอมมิวนิสต์หรือไม่ รายงานการประชุมครั้งที่ 3 นี้ทางคณะกรรมาธิการฯ ได้สอบสวนความคิดของหลวงประดิษฐ์มนูธรรมโดยเน้นทางด้านโภคกิจ และโภคทรัพย์คือ การทำงาน และที่ดิน
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
10
กันยายน
2567
การประชุมกรรมาธิการสอบสวนว่าหลวงประดิษฐมนูธรรม เปนคอมมิวนิสต์หรือไม่ รายงานการประชุมครั้งที่ 2 นี้ทางคณะกรรมาธิการฯ ได้ทำการสอบสวนความคิดของหลวงประดิษฐมนูธรรมในด้านต่าง ๆ อาทิ การเมือง การคลัง และการโภคกิจ
บทความ • วันนี้ในอดีต
9
กันยายน
2567
รำลึกถึงประวัติของสุพจน์ ด่านตระกูลนักเขียนคนสำคัญผู้เป็นเจ้าของผลงาน ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับกรณีสวรรคตและหนังสือเล่มอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการยกย่องชีวิตกับผลงานของนายปรีดี พนมยงค์ไปจนถึงยืนหยัดถึงความบริสุทธิ์ของกรณีสวรรคต
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
8
กันยายน
2567
การประชุมคณะกรรมาธิการฯ ครั้งที่ 1 เป็นการสอบสวนว่าหลวงประดิษฐมนูธรรมหรือนายปรีดี พนมยงค์ ได้มีแนวความคิดทางการเมืองอันเป็นคอมมิวนิสม์หรือไม่ โดยได้มีการถกเถียงถึงวิธีการสอบสวนและกำหนดความหมายของแนวทางคอมมิวนิสม์
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
7
กันยายน
2567
ในทศวรรษ 2470 นายปรีดี พนมยงค์ ได้ถูกกล่าวหาและตั้งข้อสังเกตว่าเป็นคอมมิวนิสต์ โดยต่อมาพระยาพหลพลพยุหเสนาได้เสนอนามเป็นผู้เชี่ยวชาญที่ปรึกษาทำการสอบสวน นายปรีดี พนมยงค์ ว่าเป็นคอมมูนิสต์หรือไม่ แล้วให้กรรมาธิการเสนอผลการสอบสวนต่อสภาฯ เพื่อพิจารณาต่อไป
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
7
กันยายน
2567
การจะตัดสินใจก่อนจะกระทำสิ่งใดที่ส่งผลกระทบต่อสาธารณชนนั้น ควรที่จะคิดใคร่ครวญให้ดีเสียก่อน มิฉะนั้นแล้วผลลัพธ์ที่เกิดจากการกระทำเหล่านั้นอาจส่งผลเสียอย่างใหญ่หลวงจนไม่ว่าจะพยายามแก้ไขอย่างไรก็ไม่สามารถลบล้างได้
บทความ • บทบาท-ผลงาน
6
กันยายน
2567
ภายหลังจากที่สงครามโลกครั้งที่ 2 ยุติลงเมื่อวันที่ 16 สิงหาคม 2488 นายปรีดี พนมยงค์ในฐานะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ได้ส่งโทรเลขลงวันที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2488 อัญเชิญเสด็จพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล เสด็จนิวัติพระนคร และหนังสือโต้ตอบระหว่างทั้งสองท่านโดยได้นำเสนอไว้ครบถ้วนในบทความนี้
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
5
กันยายน
2567
อัตชีวประวัติของนายเล้ง ศรีสมวงศ์ ในการทำงานด้านการคลัง และการธนาคาร โดยเฉพาะในช่วงที่ดำรงตำแหน่งผู้ว่าการธนาตารแห่งประเทศไทย กับการดำเนินงานด้านธนาคารพาณิชย์ของเอกชน และความสัมพันธ์กับนายปรีดี พนมยงค์
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
Subscribe to บทความ
5
กันยายน
2567
ดร.เดือน บุนนาค บันทึก จุดเริ่มต้นเหตุการณ์ที่ นายปรีดี พนมยงค์ และดร.เดือน บุนนาค รู้จักกัน ความพิเศษของบทความผนวกหลักฐานชั้นต้น ทำให้ทราบถึงความสัมพันธ์และเหตุการณ์