ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

บทความ

บทความ เว็บไซต์สถาบันปรีดี พนมยงค์ PRIDI BANOMYONG INSTITUTE

เกร็ดประวัติศาสตร์
3
มีนาคม
2568
บทสัมภาษณ์ต่อนายปรีดี พนมยงค์ ในปี 2517 ที่สะท้อนทัศนะทางการเมือง และวิพากษ์วิจารณ์ระบบเผด็จการที่จำกัดสิทธิ์ของราษฎร ปัญหาทางเศรษฐกิจ และอิทธิพลของมหาอำนาจพร้อมกับสนับสนุนให้มีการปฏิรูปการเมืองและกองทัพ
แนวคิด-ปรัชญา
3
มีนาคม
2568
ไทยรอดจากสงครามโลกครั้งที่ 2 ไม่ใช่เพราะ "ปาฏิหาริย์" แต่เพราะยุทธศาสตร์ทางการทูตและขบวนการเสรีไทย ทั้งนายปรีดี พนมยงค์ ปฏิเสธลงนามในประกาศสงครามฯ โดยต่อมาการประกาศสันติภาพในปี 2488 ยังช่วยให้ไทยไม่ตกเป็นประเทศผู้แพ้สงคราม
เกร็ดประวัติศาสตร์
1
มีนาคม
2568
บทความนี้โต้แย้งแนวคิดที่ว่าไทยรอดจากการเป็นผู้แพ้ในสงครามโลกครั้งที่ 2 ด้วยความบังเอิญ โดยเน้นบทบาทของขบวนการเสรีไทยและยุทธศาสตร์ทางการทูตของปรีดี พนมยงค์ ที่ช่วยให้ไทยไม่ตกเป็นประเทศผู้แพ้สงคราม
แนวคิด-ปรัชญา
1
มีนาคม
2568
กุหลาบ สายประดิษฐ์ ได้เล่าเรื่องอุปมาว่าด้วยความไม่สมเหตุสมผลของระบบศักดินา ที่มนุษย์กลุ่มนึงสมอ้างว่าตัวเองเป็นเทพยดา แล้วควบคุม กดขี่ มนุษย์กลุ่มอื่นๆ เสมือนว่าพวกเขา “กินแกลบ”
ศิลปะ-วัฒนธรรม
28
กุมภาพันธ์
2568
ความรักควรไปตาย (to hell with love!) เป็นละครเวทีไทยที่ดัดแปลงจาก "Private Lives" ของ Noël Coward สำรวจความสัมพันธ์ยุคใหม่ และมีการจัดวางฉากแบบร่วมสมัยภายใต้แนวคิดในการนำบทละครคลาสสิกมาตีความใหม่
เกร็ดประวัติศาสตร์
28
กุมภาพันธ์
2568
ภายหลังการพ่ายแพ้ของขบวนการประชาธิปไตย 26 กุมภาพันธ์ 2492 ซึ่งนำโดยนายปรีดี พนมยงค์ ที่มีจุดมุ่งหมายเพื่อกอบกู้ประชาธิปไตยจากรัฐบาลเผด็จการทหาร ส่วนความคิดเห็นจากข้าราชการพบว่าส่วนใหญ่เห็นด้วยกับการปราบปรามครั้งนี้
เกร็ดประวัติศาสตร์
27
กุมภาพันธ์
2568
การแทรกซึมของโผน อินทรทัต เป็นวิธีการทางทหารที่ขบวนการเสรีไทยจะพอที่จะทำได้ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ที่ประเทศไทยอยู่ภายใต้การปกครองของญี่ปุ่น การแทรกซึมจึงต้องใช้ความกล้าหาญและยุทธศาสตร์ในการฝ่าฟันอุปสรรคเพื่อต่อต้านกองทัพญี่ปุ่น
เกร็ดประวัติศาสตร์
26
กุมภาพันธ์
2568
ในวาระ 76 ปี ขบวนการประชาธิปไตย 26 กุมภาพันธ์ 2492 เสนอเรื่องหนังสืออนุสรณ์งานศพของหลวงสังวรยุทธกิจซึ่งเป็นหลักฐานประวัติศาสตร์สำคัญที่สะท้อนบทบาทของทหารเรือในการอภิวัฒน์ ขบวนการเสรีไทยจนถึงหลังสงครามโลก ครั้งที่ 2
แนวคิด-ปรัชญา
25
กุมภาพันธ์
2568
ทองเปลว ชลภูมิ์ ตั้งคำถามทางเศรษฐศาสตร์ใน พ.ศ. 2484 ว่าความมั่งคั่งควรเป็นของรัฐบาลหรือเอกชน จากวิวัฒนาการทางเศรษฐศาสตร์แสดงให้เห็นว่าความร่ำรวยของรัฐไม่ได้สะท้อนถึงความมั่งคั่งของประชาชนเสมอไป
แนวคิด-ปรัชญา
25
กุมภาพันธ์
2568
การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจไทยที่ยั่งยินจะเกิดขึ้นได้ ด้วยการมีการกระจายรายได้ ลดความเหลื่อมล้ำ ซึ่งจุดเริ่มต้นสำคัญ คือ ระบบประกันสังคมที่เข้มแข็ง ปราศจากคอร์รัปชั่น และบริหารด้วยผู้ที่มีความเชี่ยวชาญอย่างแท้จริง
Subscribe to บทความ