บทความ
บทความ เว็บไซต์สถาบันปรีดี พนมยงค์ PRIDI BANOMYONG INSTITUTE
บทความ • บทบาท-ผลงาน
22
พฤษภาคม
2568
เราต้องยอมรับความจริงว่า ฝ่ายเผด็จการซึ่งแม้เป็นบุคคลจํานวนส่วนข้างน้อยของสังคม แต่พวกเขาก็มีพลังทางเศรษฐกิจ การเมือง และอิทธิพลทางทรรศนะเผด็จการอยู่มาก ดังนั้น ... ฝ่ายต่อต้านเผด็จการ... ขอให้คํานึงคติ 'กําหนดตัวศัตรูให้น้อย หาเพื่อนให้ได้มาก'
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
21
พฤษภาคม
2568
ภายหลังการเข้ามาของกองทัพญี่ปุ่นช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ทำให้ประเทศไทยต้องเข้าเป็นสัมพันธมิตรและเข้าเป็นพันธมิตรทางการทูต
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
21
พฤษภาคม
2568
สุโข สุวรรณศิริ เสนอว่า นายปรีดี พนมยงค์ เป็นบุคคลต้นแบบที่ควรยึดถือ ด้วยคุณลักษณะ 3 ประการ ได้แก่ ความซื่อสัตย์สุจริต ความรู้ความสามารถ และวิสัยทัศน์กว้างไกล ซึ่งล้วนเป็นประโยชน์ต่อประเทศชาติอย่างแท้จริง
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
19
พฤษภาคม
2568
รวมคำถาม ข้อเสนอ และมุมมอง เพื่อถอดบทเรียน ปัญหาสันติภาพและนำไปสู่การแก้ไขปัญหาในอนาคต
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
19
พฤษภาคม
2568
บันทึกที่มาและรายละเอียดความสัมพันธ์ระหว่าง นายปรีดี พนมยงค์ รัฐบุรุษอาวุโส และ โฮจิมินห์ ผู้นำการต่อสู้เพื่อเอกราชแห่งเวียดนาม รวมไปถึงมิตรภาพอันดีกับผู้นำระดับสูงของสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
19
พฤษภาคม
2568
โฮจิมินห์เป็นผู้นำเวียดนามที่เปี่ยมด้วยอุดมการณ์ เสียสละเพื่อชาติ ไม่ยึดติดอำนาจ ยศศักดิ์ ทำให้ชาวเวียดนามยกย่องสูงสุด โดยเขาเดินทางทั่วโลก เพื่อเรียนรู้แนวคิดเพื่อการปลดปล่อยอินโดจีน ใช้ชีวิตสมถะ ทั้งยังไม่สนับสนุนลัทธิบูชาตัวบุคคล
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
18
พฤษภาคม
2568
อังคณา นีละไพจิตร เน้นว่าการสร้างสันติภาพต้องเริ่มจากการรับฟังเสียงของผู้ถูกกระทำ และยอมรับความหลากหลายทางชาติพันธุ์ โดยเสนอให้แก้รัฐธรรมนูญและยุติวัฒนธรรมการลอยนวลพ้นผิดเพื่อสร้างความเป็นธรรมในสังคมไทย
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
18
พฤษภาคม
2568
เอกสารยืนยันความบริสุทธิ์ของนายปรีดี พนมยงค์ จากข้อกล่าวหาเกี่ยวกับกรณีสวรรคต ร.8 โดยมีการดำเนินคดีหลายครั้ง และคู่ความต่างยอมรับผิด โดยขอขมาอย่างเป็นทางการ
บทความ • วันนี้ในอดีต
18
พฤษภาคม
2568
นายวิชา กันตามระ เป็นนักกฎหมายผู้ภักดีต่อนายปรีดี พนมยงค์และยืนหยัดเพื่อความยุติธรรมผ่านการว่าความในคดีสำคัญทางการเมือง โดยได้รับมอบอำนาจในคดีสำคัญ ๆ เพื่อยื่นเรื่องคดีหมิ่นประมาท
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
Subscribe to บทความ
18
พฤษภาคม
2568
กุหลาบ สายประดิษฐ์ เรียกร้องให้ประชาชนมีสิทธิ์ตัดสินเรื่องสงครามผ่านประชามติ เพื่อป้องกันการผูกขาดอำนาจของชนชั้นนำ โดยขอให้ประชาชนไทยร่วมลงนามสนับสนุนสันติภาพ เป็นการแสดงออกถึงเจตจำนงอันทรงเกียรติในการต่อต้านสงคราม