เกร็ดประวัติศาสตร์
เกร็ดประวัติศาสตร์
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
18
มกราคม
2566
รวินทร์ คำโพธิ์ทอง เขียนถึงศาตราจารย์ดิเรก ชัยนาม เนื่องในวาระ 118 ปี ชาตกาล 18 มกราคม 2566 โดยกล่าวถึงชีวประวัติย่อและการทำงาน รวมไปถึงบทบาททางการเมืองเมื่อครั้งสงครามโลกครั้งที่ 2 และการดำเนินงานในกิจการเสรีไทย
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
16
มกราคม
2566
เขมภัทร ทฤษฎิคุณ เขียนถึงการทำงานของ 'ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.อิสสระ นิติทัณฑ์ประภาศ' ในด้านกฎหมายงบประมาณและการคลัง โดยนำเสนอผ่านผลงาน ศ.ดร.อิสสระ ที่ได้สร้างไว้เมื่อครั้งมีชีวิตอยู่ ซึ่งสะท้อนการวิพากษ์วิจารณ์และการคานอำนาจของการเมืองในระบอบประชาธิปไตย
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
6
มกราคม
2566
กษิดิศ อนันทนาธร เขียนถึงชีวประวัติย่อของ "คุณหญิงจันทนี สันตะบุตร" สตรีผู้อุทิศตนเพื่องานสังคมสงเคราะห์ ตลอดจนบอกเล่าเรื่องราวการทำงาร ความรัก และครอบครัว ที่ได้หล่อหลอมให้สตรีผู้นี้เป็นบุคคลที่มีฉากและชีวิตโลดแล่นมากว่า 5 แผ่นดิน โดยตั้งมั่นอยู่บนพื้นฐานและอุดมการณ์เพื่อประโยชน์แก่สังคมอย่างสุดความสามารถ
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
31
ธันวาคม
2565
(1)
12 มีนาคม 1954
“จะไม่มีปืนใหญ่ของเวียดมินห์กระบอกใดยิงได้เกินกว่าสามนัด โดยไม่ถูกทำลายด้วยปืนใหญ่ของเรา”
Charles Piroth
ผู้บังคับการหน่วยทหารปืนใหญ่
ของฝรั่งเศสที่เดียนเบียนฟู
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
29
ธันวาคม
2565
เหตุการณ์เมื่อสงครามโลกครั้งที่ 2 ยังพื้นที่อำเภอแม่สอด จังหวัดตาก ในทศวรรษ 2480 ผ่านบันทึกความทรงจำของ 'นายสวงษ์ เสมดี' ศึกษาธิการประจำอำเภอแม่สอด ซึ่งปรากฏภาพบรรยากาศภายในจังหวัดตากที่สะท้อนถึงการเคลื่อนไหวและพลวัตทางสังคม
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
20
ธันวาคม
2565
เมื่อสิ้นสุดสงคราม ปรีดี พนมยงค์ได้สถาปนาพระเกียรติของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้คืนคงเป็นพระมหากษัตริย์ของประเทศไทยอย่างเต็มที่ ดังปรากฏในลายพระหัตถ์ของหม่อมเจ้าศุภสวัสดิ์ฯ และพระกระแสรับสั่งของสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
5
ธันวาคม
2565
เนื่องในวาระ 113 ปี ชาตกาล 'นายเตียง ศิริขันธ์' ขุนพลแห่งภูพานผู้ยิ่งใหญ่ และนักประชาธิปไตยผู้ต่อต้านเผด็จการ
ผู้เขียนบอกเล่าถึงชีวประวัติย่อของ 'นายเตียง ศิริขันธ์' รวมไปถึงอิทธิพลความคิดทางการเมืองที่กรุยทางไปสู่การเคลื่อนไหวต่อต้านระบอบเผด็จการ และปฏิบัติการขบวนการเสรีไทยในภาคอีสาน
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
4
ธันวาคม
2565
'ทวีป วรดิลก' เขียนถึง ชื่อเสียงของ 'หวอเหงียนย้าป' ที่ขจรไปไกลสืบเนื่องจากการต่อต้านลัทธิล่าอาณานิคมฝรั่งเศสและอเมริกาได้จนสำเร็จ อีกทั้งเรื่องราวความสัมพันธ์ระหว่าง 'นายปรีดี พนมยงค์' และ 'โฮจิมินห์' ที่นำพาให้ผู้เขียนและ 'ศุขปรีดา พนมยงค์' พร้อมด้วย "คณะมิตรภาพ" ได้เดินทางเข้าเยี่ยมเยียนหวอเหงียนย้าป ณ ที่พำนัก
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
3
ธันวาคม
2565
ผู้เขียนได้บอกเล่าเรื่องราวประสบการณ์ทางการเมืองของ 'นายปรีดี พนมยงค์' ในประเทศอังกฤษ โดยมีที่มาซึ่งเกิดขึ้นขณะที่นายปรีดีและท่านผู้หญิงพูนศุข ต้องระเห็จระเหินไปยังต่างแดน ทว่า ระหว่างการเดินทางในครานั้นก็ได้นำพาให้ทั้งสองไปพบเจอกับ 'เจมส์ แม็กซ์ตัน' (James Maxton) สมาชิกสภาอังกฤษแห่งพรรคแรงงานอิสระ (Independent Labour Party: ILP)
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
Subscribe to เกร็ดประวัติศาสตร์
27
พฤศจิกายน
2565
นายพลนามว่า 'หวอเหงียนย้าป' จะยังคงเป็นชื่อที่อยู่คู่แผ่นดินเวียดนามและเคียงข้างนาม 'โฮจิมินห์' ตลอดกาล มิใช่ด้วยเหตุผลยศถาอันยิ่งใหญ่ แต่เพราะคุณูปการที่นักอภิวัฒน์ผู้นี้ได้เคยกระทำไว้ให้แก่ชาติเมื่อครั้งยังมีชีวิตอยู่ได้กลายเป็นอนุสรณ์ให้ชาวเวียดนามและโลกได้ระลึกถึงตราบนานเท่านาน สมดังเป็น "ทหารอาวุโสผู้เป็นอมตะนิรันดร์กาล"