ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

เกร็ดประวัติศาสตร์

เกร็ดประวัติศาสตร์

เกร็ดประวัติศาสตร์
15
สิงหาคม
2567
มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมืองเป็นยุคของการเปลี่ยนผ่านโดยหลังการรัฐประหาร 2490 มีการกำจัดเครือข่ายของคณะราษฎรสายพลเรือนและฝ่ายนายปรีดี พนมยงค์ ซึ่งการทำลายธรรมศาสตร์เป็นส่วนสำคัญในการลบเครือข่ายฯ ของนายปรีดี
เกร็ดประวัติศาสตร์
15
สิงหาคม
2567
ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ญี่ปุ่นได้มีการยกกำลังพลผ่านทางพื้นที่ทางอินโดจีน อย่างไรก็ตามการทำสงครามมีความจำเป็นในการซื้อเสบียงที่จำเป็นต่อกำลังพลในการทำสงคราม จึงขอยืมเงินไทยเพื่อซื้อเสบียงให้แก่กองทัพ
เกร็ดประวัติศาสตร์
13
สิงหาคม
2567
ภายหลังสงครามอินโดจีน-ฝรั่งเศส สิ้นสุดลงทางรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม ได้รับความนิยมและมีผู้สนับสนุนเป็นคนสนิท หากนายปรีดี พนมยงค์ ชี้ว่า รัฐบาลของจอมพล ป. ออกห่างจากแนวทางสันติวิธี
เกร็ดประวัติศาสตร์
9
สิงหาคม
2567
วิเชียร วัฒนคุณ อดีตประธานกรรมการบริหารสถาบันปรีดี พนมยงค์ ผู้เสนอชื่อปรีดี พนมยงค์ให้ได้รางวัลยูเนสโก เป็นเสมือนผู้ปิดทองหลังพระ และมีความศรัทธาต่ออุดมคติทางสังคมการเมืองของปรีดีโดยได้ให้สัมภาษณ์เกี่ยวกับเรื่องดังกล่าวไว้ในบทความชิ้นนี้
เกร็ดประวัติศาสตร์
8
สิงหาคม
2567
ประวัติชีวิตของทวี จุลละทรัพย์ ช่วงที่เข้าร่วมปฏิบัติการในขบวนการเสรีไทยสมัยสงครามโลก ครั้งที่ 2 ซึ่งทวีเป็นนายทหารอากาศที่มีอุดมคติว่า “ชาติอยู่เหนือสิ่งอื่นใด”
เกร็ดประวัติศาสตร์
4
สิงหาคม
2567
ข้อเขียนของนายปรีดี พนมยงค์ ที่เขียนถึงประวัติชีวิตนายซิม วีระไวทยะอย่างละเอียดในหนังสือที่พิมพ์แจกในงานพระราชทานเพลิงศพนายซิม วีระไวทยะ วัดมกุฏกษัตริยาราม เมื่อ พ.ศ. 2486 ซึ่งการเขียนเป็นแบบอักขรวิธีในยุคนั้น
เกร็ดประวัติศาสตร์
28
กรกฎาคม
2567
ชาญวิทย์ เกษตรศิริ และรังสรรค์ ธนะพรพันธุ์ เขียนเล่าชีวประวัติและผลงานสำคัญของ ศ.ดร. ป๋วย อึ๊งภากรณ์ ไว้อย่างละเอียดและรอบด้านนับตั้งแต่ในครรภ์มารดาจนถึงเชิงตะกอน
เกร็ดประวัติศาสตร์
27
กรกฎาคม
2567
นายดิเรก ชัยนาม ผู้ดำรงตำแหน่งรองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการต่างประเทศคนสำคัญในสมัยรัฐบาลของนายปรีดี พนมยงค์ เมื่อท่านได้ตัดสินใจลาออกจากตำแหน่งดังกล่าวนี้ได้ทำให้เป็นที่พูดถึงอย่างมากต่อเหตุผลการตัดสินใจของท่าน
เกร็ดประวัติศาสตร์
22
กรกฎาคม
2567
ชีวประวัติย่อและบทบาทของคุณหญิงแร่ม พรหโมบล บุณยประสพ ผู้เป็นเนติบัณฑิตหญิงคนแรกของประเทศไทย เป็นผู้ร่วมก่อตั้ง และอุปนายกคนแรกของสมาคมสตรีไทย ตั้งแต่ พ.ศ. 2475 และเป็นผู้มีส่วนสำคัญในการผลักดันมาตรา 28 ซึ่งบัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ ว่า “หญิงและชายมีสิทธิเท่าเทียมกัน”
เกร็ดประวัติศาสตร์
20
กรกฎาคม
2567
การเมืองของประเทศจะสามารถดำเนินไปได้อย่างมีเสถียรภาพตามครรลองระบอบประชาธิปไตย จำเป็นต้องประกอบไปด้วยฝ่ายค้านและฝ่ายรัฐบาลที่สามารถทำหน้าที่ถ่วงดุลซึ่งกันและกันได้อย่างเป็นระบบตามความต้องการของราษฎรในประเทศ
Subscribe to เกร็ดประวัติศาสตร์