แนวคิด-ปรัชญา
แนวคิดและปรัชญาทางการเมืองของปรีดี
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
22
กรกฎาคม
2565
มูลเหตุที่เลือกเรียนกฎหมาย
คุณแร่มได้เล่าให้ฟังว่า เดิมทีมิได้คิดจะเรียนกฎหมาย ตั้งใจจะเรียนแพทย์ เมื่อจบประโยคมัธยมบริบูรณ์ได้ไปสมัครสอบเข้าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยไว้แล้วด้วย แต่เผอิญรอฟังผลการสมัครสอบเข้าอยู่นาน เนื่องจากมิได้สำเร็จการศึกษาจากโรงเรียนรัฐบาล (ขณะนั้นผู้ที่สำเร็จมัธยมศึกษาจากโรงเรียนรัฐบาลสามารถเข้าศึกษาต่อในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้โดยไม่ต้องสอบเข้า) และเกรงว่าจะเข้าไม่ได้ด้วย จึงได้ไปสมัครเข้าโรงเรียนกฎหมายของกระทรวงยุติธรรม โดยได้รับการสนับสนุนจากบิดาเป็นผู้พาไปสมัครต่อเสนาบดีกระทรวงยุติธรรมในขณะนั้น คือเจ้าพระยาพิชัยญาติ ซึ่งหลังจากถูกซักถามและอบรมอยู่วันหนึ่งเต็
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
19
กรกฎาคม
2565
“การกระจายอำนาจ” เป็นพื้นฐานของการปกครองสมัยใหม่ ซึ่งต้องการกระจายบทบาทของการจัดทำบริการสาธารณะจากรัฐส่วนกลางไปสู่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีความใกล้ชิดกับประชาชน
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
13
กรกฎาคม
2565
นับแต่ภายหลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง ได้เกิดกระแสความตื่นตัวของหลากหลายกลุ่มคนที่แสดงความนิยมยินดีและส่งเสริมสนับสนุนต่อระบอบประชาธิปไตย มุ่งมั่นเทิดทูนรัฐธรรมนูญ รวมถึงศรัทธาในหลักการของ คณะราษฎร
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
12
กรกฎาคม
2565
การศึกษาประวัติศาสตร์คณะราษฎรในมุมมองใหม่เริ่มต้นราวปลายทศวรรษ 2520 ทั้งมีงานเชิงวิชาการที่เสนอการตีความเหตุการณ์ 24 มิถุนายน 2475 จากฝ่ายที่เห็นด้วยและเห็นต่างไว้ 4 รูปแบบ
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
8
กรกฎาคม
2565
“ข้าพเจ้าใคร่ที่จะกล่าวด้วยความรู้สึกอันแท้จริงอีกอย่างหนึ่งว่า พร้อมกับที่เราชื่นชมยินดีในรัฐธรรมนูญอันเปนที่รักของเรานี้ เราควรมีความรู้สึกขอบคุณ ‘คณะราษฎร’ ผู้พลีชีพเข้าทำการเปลี่ยนแปลงการปกครองจนได้รัฐธรรมนูญอันนี้มาสมตามความประสงค์ ด้วย.”
พุทธทาสภิกขุ
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
7
กรกฎาคม
2565
ตลอดเดือนกรกฎาคมนี้สถาบันปรีดีชวนท่านผู้อ่านทุกท่านติดตาม “ปลดล็อคท้องถิ่น เดอะ ซีรีส์” ซึ่งจะนำเสนอเรื่องราวและแนวทางเพื่อนำไปสู่การพัฒนา อปท. ที่ดีขึ้น
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
6
กรกฎาคม
2565
“งานรื่นเริงของพลเมืองในระบอบใหม่” เป็นกิจกรรมสำคัญที่ถูกจัดขึ้นอย่างแพร่หลายในยุคสมัยรัฐบาลคณะราษฎรนับตั้งแต่หลังการปฏิวัติ พ.ศ. 2475
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
4
กรกฎาคม
2565
โดยไม่ต้องรอนาน การรับรองสิทธิเลือกตั้งอย่างเท่าเทียมกันระหว่างหญิง-ชาย ก็มาถึง เมื่อ พ.ร.บ. การปกครองแผ่นดินสยาม (ชั่วคราว) 2475 ได้รับการประกาศใช้ สามวันหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
3
กรกฎาคม
2565
รังสิมันต์ โรม นายทุน ขุนศึก ศักดินา และประชาชน PRIDI Talks #16: 90 ปี แห่งการอภิวัฒน์สยาม “อุดมการณ์เพื่อชาติและราษฎรไทย”
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
Subscribe to แนวคิด-ปรัชญา
3
กรกฎาคม
2565
ชานันท์ ยอดหงษ์ สตรีเพศ การต่อสู้ และกระแสธารแห่งการเปลี่ยนแปลง PRIDI Talks #16: 90 ปี แห่งการอภิวัฒน์สยาม “อุดมการณ์เพื่อชาติและราษฎรไทย”